Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » คอลัมน์ » บนเส้นทางชีวิต

บนเส้นทางชีวิต

  • บนเส้นทางหนังสือ (๑๕)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 324 เมษายน 2549
    ในตอนที่แล้ว ท่านทะไล ลามะ ได้กล่าวว่า เราจะขจัดสิ่งที่รบกวนจิตใจออกไปได้ โดยพื้นฐาน ๓ ประการ นั่นคือ"พื้นฐานประการที่ ๑ อารมณ์ร้ายทั้งหลายเกิดจากการมองความจริงผิดไป อารมณ์ร้ายเหล่านี้ไม่มีรากฐานจากความจริง แต่เกิดจากอวิชชา ในทางตรงข้ามสภาวะจิตใจที่ดี เช่น ความรักความเมตตา ปัญญา มีรากฐานที่มั่นคง เมื่อจิตอยู่ในสภาวะที่ดีก็จะเห็นโลกตามความเป็นจริงได้ ...
  • บนเส้นทางหนังสือ (๑๔)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 323 มีนาคม 2549
    ในตอนที่แล้วมาถึงว่าหมอคัตเลอร์ยังข้องใจคำอธิบายของท่านทะไล ลามะ ที่ว่าการพัฒนาจิตลึกๆ ต้องใช้เวลานาน เขาจึงถามท่านว่า "ท่านได้กล่าวว่าต้องมีความกระตือรือร้นและความตั้งใจจริงอย่างสูง ที่จะเปลี่ยนแปลงจิตใจไปทางบวก แต่ขณะเดียวกันเราก็ว่าการเปลี่ยนแปลงที่แท้จริงเกิดขึ้นช้าๆ ใช้เวลานานมาก เมื่อการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นช้าก็ทำให้ท้อใจได้ง่ายๆ ...
  • บนเส้นทางหนังสือ (๑๓)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 322 กุมภาพันธ์ 2549
    การปฏิบัติตามหลัก "ต็อง-เล็น"Ž"ต็อง-เล็น" เป็นวิธีของทิเบต ที่จินตนาการเอาความทุกข์ของผู้อื่นเข้ามาสู่ตัวเอง นอกจากเพื่อเสริมสร้างความกรุณาในจิตใจของตัวเองแล้ว ยังใช้เพื่อลดความทุกข์ของตัวได้ด้วยท่านทะไล ลามะ แสดงปาฐกถาเรื่องนี้ในบ่ายวันที่อากาศร้อนในเมืองทูซอน รัฐแอริโซนา รัฐนี้มีทะเลทรายกว้างขวาง ในฤดูร้อนอากาศจะร้อนมากจนเกือบเกรียม ในห้องประชุมวันนั้นมีผู้ฟังประมาณ ๑,๖๐๐ ...
  • บนเส้นทางหนังสือ (๑๒)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 321 มกราคม 2549
    บทที่ ๑๑การหาความหมายในความเจ็บปวดและความทุกข์หมอคัตเลอร์เล่าในหนังสือเล่มนี้ถึงจิตแพทย์ยิวคนหนึ่งที่ถูกนาซีคุมขังในสงครามโลกครั้งที่ ๒ เขาชื่อวิคเตอร์ แฟรงเคิล ผู้กล่าวว่า “มนุษย์พร้อมและเต็มใจที่จะรับความทุกข์ทรมานได้ทุกชนิด ตราบใดที่เขารู้ความหมายของมัน” ...
  • บนเส้นทางหนังสือ (๑๑)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 320 ธันวาคม 2548
    การค้นพบมุมมองใหม่หมอคัตเลอร์เล่าว่าในความพยายามที่จะประยุกต์วิธีของท่านทะไล ลามะ ในการเปลี่ยนมุมมอง “ศัตรู” เขาได้พบเทคนิคอีกอันหนึ่งในบ่ายวันหนึ่ง ในช่วงที่กำลังเขียนหนังสือเล่มนี้ เขาได้เข้าไปฟังการสอนของท่านทะไล ลามะ ทางฝั่งตะวันออก (ของสหรัฐอเมริกา) ขากลับเขาจับเครื่องบินที่ตรงไปเมืองฟินิกซ์เขาจองที่นั่งติดทางเดิน แม้ว่าจะเพิ่งไปฟังการสอนทางจิตวิญญาณมาสดๆ ...
  • บนเส้นทางหนังสือ (๑๐)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 319 พฤศจิกายน 2548
    การย้ายมุมมองในกาลครั้งหนึ่ง สานุศิษย์ของนักปรัชญากรีกผู้หนึ่ง ถูกอาจารย์สั่งว่าจงใช้เวลา ๓ ปี ให้เงินแก่คนทุกคนที่พูดจาดูถูกเขา เมื่อครบกำหนดแล้วอาจารย์บอกเขาว่า "คราวนี้ ไปกรุงเอเธนส์ได้แล้วจะไปแสวงหาปัญญา" เมื่อศิษย์ผู้นี้ไปถึงหน้าเมืองเอเธนส์ เขาเห็น ชายผู้ทรงปัญญาคนหนึ่งนั่งอยู่หน้าประตู พูดจาดูถูกผู้คนที่ผ่านเข้าออกประตูเมืองทุกคน ...
  • บนเส้นทางหนังสือ(๙)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 318 ตุลาคม 2548
    บนเส้นทางหนังสือ(๙)"ถ้าคุณรู้สึกว่าเจ้านายคุณในที่ทำงานทำกับคุณอย่างไม่ยุติธรรม มันอาจจะมีปัจจัยอื่นๆ ที่เข้ามาเกี่ยวข้อง ไม่ใช่ว่ามันจะเป็นเพราะคุณเท่านั้น เช่น มีเรื่องอื่นๆ ที่ทำให้ เขาไม่สบายใจ หรือว่าทะเลาะกับภรรยามาเมื่อเช้านี้หรืออื่นๆ พฤติกรรมของเขาอาจจะไม่เกี่ยวกับคุณโดยเฉพาะ แน่นอนว่าคุณก็ต้องเผชิญสถานการณ์ไปอย่างที่มันเป็น แต่อย่างน้อยโดยวิธีนี้ (คือรู้ว่าอาจมีปัจจัยอื่นๆ ...
  • บนเส้นทางหนังสือ(๘)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 317 กันยายน 2548
    บนเส้นทางหนังสือ(๘)"การเข้าใจเรื่องทุกข์มีความสำคัญ" ท่านทะไล ลามะ อธิบาย"เพราะมีทางที่จะเป็นอิสระจากทุกข์ โดยขจัดเหตุแห่งทุกข์ มนุษย์สามารถประสบอิสรภาพได้ สภาวะที่ไม่มีทุกข์ หลักทางพุทธนั้นสาเหตุของทุกข์คือ โลภ โกรธ หลง เป็นยาพิษทางจิตใจทั้งสาม คำว่า โง่ หรืออวิชชาในทางพุทธนั้น มีความหมายจำเพาะ ไม่ได้หมายถึงการขาดข้อความรู้ แต่หมายถึงการเห็นผิดในธรรมชาติของตัวเอง และสรรพสิ่ง ...
  • บนเส้นทางหนังสือ(๗)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 316 สิงหาคม 2548
    บนเส้นทางหนังสือ(๗)คราวที่แล้วเป็นการคุยกันระหว่างท่านทะไล ลามะ กับหมอคัตเลอร์ค้างอยู่ตรงที่คนที่ขาดความรักและโหดร้ายอย่างสตาลิน"มีคนบางคนเริ่มต้นในชีวิตเลย มีชีวิตที่ขาดความรักจากผู้อื่นและไม่มีความสุข หลังจากนั้นเขาไม่มีความรู้สึกเยี่ยงมนุษย์ ไม่สามารถรักคนอื่นได้ กลายเป็นคนหยาบกระด้างและอำมหิต" ท่านทะไล ลามะ พูดแล้วก็หยุดไปนาน ครุ่นคิดอย่างจริงจัง ก้มลงหยิบถ้วยชาดื่ม ...
  • บนเส้นทางหนังสือ (๖)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 315 กรกฎาคม 2548
    บนเส้นทางหนังสือ (๖)ตอนที่แล้วเราคุยกันจากหนังสือ "ศิลปะแห่งความสุข" ของท่านทะไล ลามะ ถึงตอนที่ว่าด้วยความสัมพันธภาพระหว่างมนุษย์ความสัมพันธ์ที่อยู่บนฐานของความเสน่หาและการแต่งงานหมอคัตเลอร์ว่ารู้สึกแปลกมากที่จะคุยเรื่องเพศและการแต่งงานกับคนที่เป็นพระและอายุกว่า ๖๐ ปีแล้ว แต่ท่านทะไล ลามะ ก็ไม่รังเกียจที่จะคุยถึงเรื่องนี้ เขาจึงถามท่านว่า"ในวัฒนธรรมตะวันตก ...
  • «
  • ‹
  • 1
  • 2
  • 3
  • 4
  • ›
  • »
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • คุยกับหมอพินิจ
  • คุยกับหมอไพโรจน์
  • คู่มือครอบครัว
  • คู่มือหมอครอบครัว
  • จดหมายจากจอน
  • จดหมายเหตุเวชกรรมไทย
  • จิตวิทยา
  • จิตใจและกามารมณ์ในคนแก่
  • ฉลาดรู้
  • ฉลาดใช้... ยา
  • ชีพจร UC
  • ชีวิตปลอดภัยถ้าใส่ใจปฐมพยาบาล
  • ชี้ทิศ รู้สิทธิ
  • ดุลชีวิต
  • ด้วยรักและเกื้อกูล
  • ‹‹
  • 3 จาก 14
  • ››

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa