บทบรรณาธิการ (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)
-
วารสารคลินิก
262
ตุลาคม 2549
แพทย์ พยาบาล และบุคลากรสาธารณสุขที่ให้บริการดูแลรักษาพยาบาลผู้ป่วยบ่อยครั้งที่จะต้องเข้าไปเกี่ยวข้องกับการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายอาจในฐานะผู้ให้บริการโดยตรง หรือในฐานะเป็นที่พึ่งพาหรือที่ปรึกษาของญาติมิตร คนรู้จัก.ปัญหาที่พบ ก็คือ บุคลากรส่วนใหญ่ยังขาดเจตคติ ความรู้ และทักษะในการดูแลผู้ป่วยรวมทั้งขาดกลไกสนับสนุนช่วยเหลือญาติและชุมชนให้มีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย ...
-
วารสารคลินิก
260
สิงหาคม 2549
ในช่วงไม่นานที่ผ่านมานี้พบเหตุการณ์ 3-4 รื่องที่สะท้อนถีงปัญหาการขาดแคลนแพทย์ในชนบท และหน่วยบริการสุขภาพปฐมภูมิและการแสวงหาทางออกในการแก้ปัญหานี้. เรื่องแรก บังเอิญได้พบแพทย์จบใหม่ (ที่เป็นลูกศิษย์) เล่าว่าเป็นรุ่นที่กำลังทำงานใช้ทุนปีที่ 3 ตอนนี้ได้ลาออกมาทำงานที่โรงพยาบาลเอกชนในกรุงเทพฯ แล้วตอนใช้ทุน 2 ปีแรกได้ทำงานที่ภาคตะวันออก. ปีที่ 2 ทำงานที่โรงพยาบาลชุมชน งานหนัก คนไข้เยอะ แพทย์น้อย ...
-
วารสารคลินิก
257
พฤษภาคม 2549
เมื่อช่วงปลายเดือนมีนาคมที่ผ่านมาผมมีโอกาสไปดูงานด้านการศึกษาแพทยศาสตร์โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน (community-based medical learning) ที่ Flinders University ประเทศออสเตรเลีย.คณะแพทยศาสตร์แห่งมหาวิทยาลัยดังกล่าวได้ริเริ่มทำโครงการ Parallel Rural Clinical Curriculum (PRCC) ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2539 โดยรับนักศึกษาจากผู้ที่จบปริญญาตรีทุกสาขา (ทั้งด้านวิทยาศาสตร์ และสังคมศาสตร์) เข้าศึกษาในคณะแพทยศาสตร์เป็นเวลา ...
-
วารสารคลินิก
258
พฤษภาคม 2549
ระยะหลายปีมานี้ ผมมีโอกาสเดินทางไปบรรยายเรื่อง"การรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิ " แก่บุคลากรสาธารณสุขที่ประกอบเวชปฏิบัติในชุมชนในภูมิภาคต่างๆ ทั้งในส่วนที่ทำงานอยู่ในโรงพยาบาลและหน่วยบริการปฐมภูมิ (ศูนย์สุขภาพชุมชน ศูนย์บริการสาธารณสุข สถานีอนามัย).จากการอภิปรายแลกเปลี่ยนกับผู้เรียนซึ่งมีประสบการณ์อันหลากหลายทำให้ได้เรียนรู้ปัญหาเวชปฏิบัติในลักษณะต่าง ...
-
วารสารคลินิก
256
เมษายน 2549
ปัจจุบันมีเภสัชกรกระจายอยู่ตามสถานบริการสุขภาพระดับต่างๆ รวมทั้งระดับอำเภอ (โรงพยาบาลชุมชน) และชุมชน (ร้านยาเภสัชกรชุมชน). ภาระหน้าที่หลักของเภสัชกรคือ การจัดหา และการกระจายยา แก่ผู้ป่วยและประชาชนอย่างถูกต้องและปลอดภัย โดยส่วนใหญ่จะทำงานร่วมกับแพทย์ พยาบาล และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข.ภาพที่คนส่วนใหญ่เห็นก็คือ เภสัชกรวุ่นวายอยู่กับการจัดจ่ายยาแก่ผู้ป่วยที่ห้องยาของโรงพยาบาล. ...
-
วารสารคลินิก
255
มีนาคม 2549
จากการออกไปสำรวจชุมชน โดยมีเวลาพักแรมอยู่ในชุมชนระยะหนึ่ง พบว่า ชุมชนชนบทยังคงมีระบบเครือญาติหรือเครือข่ายญาติพี่น้องที่เกาะเกี่ยวโยงใยกันอย่างเหนียวแน่น ซึ่งส่งผลต่อการดูแลสุขภาพของปัจเจก บุคคลเป็นอย่างมาก. อาทิเช่น ครอบครัวหนึ่งที่เราไปเยี่ยมนั้น มีลุงกับป้าอยู่กัน 2 คน คุณลุงอายุ 70 ปี คุณป้าอายุ 68 ปี ไม่มีลูก แต่มีพี่น้องและหลานๆอยู่ในละแวกเดียวกันหลายบ้าน.เมื่อ 4-5 ปีก่อน ...
-
วารสารคลินิก
254
กุมภาพันธ์ 2549
4 Basic Questions For every doctor when taking care of every patient. 1.Does the care of this patient meet professional standard?2.Has patient ' s satisfaction been met?3.Are the use of resources appropriate? (Investigation, treatment)4.Has selfcare instruction been given for preventive and promotive action?แนวโน้มที่น่าเป็นห่วงสำหรับวงการแพทย์ไทย คือ ...
-
วารสารคลินิก
253
มกราคม 2549
มีความรู้สึกว่าปีระกาที่เพิ่งลาจากไปนี้ช่างดุเหลือเกิน เพราะมีข่าวภัยพิบัติเกิดขึ้นแทบทุกมุมโลก. นับแต่ภัยธรรมชาติที่ต่อจากสึนามิ (ปลายปี 2546) ก็มีพายุเฮอริแคน แผ่นดินไหว น้ำท่วม ซึ่งมีความร้ายแรงมากที่สุดในรอบหลายปีที่ผ่านมา. นอกจากนี้ก็ยังมีภัยสงครามและการก่อการร้ายที่เกิดขึ้นในหลายภูมิภาค รวมทั้ง 3 จังหวัดภาคใต้ของเรา. ภัยธรรมชาติเป็นปรากฏการณ์ที่เป็นไปตามวัฏจักรของโลกเรา ...
-
วารสารคลินิก
239
พฤศจิกายน 2547
ในการพัฒนางานด้านเวชปฏิบัติปฐมภูมิ และการสร้างเสริมสุขภาพในชุมชนระดับอำเภอ ซึ่งเป็นรากฐานของการพัฒนาระบบสุขภาพของประเทศนั้น ควรใช้โรงพยาบาลชุมชนเป็นศูนย์การเรียนรู้ด้านสุขภาพของบุคคลทุกระดับ ตั้งแต่บุคลากรสาธารณสุข อาสาสมัครสาธารณสุข เยาวชน (นักเรียน นักศึกษา) ครู พระ ผู้นำชุมชน จนถึงประชาชนทั่วไป. ทั้งนี้ เนื่องเพราะโรงพยาบาลชุมชนมีปัจจัยที่เอื้อให้เกิดการเรียนรู้ ...
-
วารสารคลินิก
238
ตุลาคม 2547
หลักสูตรแพทยศาสตร์ศึกษาในปัจจุบันมีแนวโน้มที่จะสอนนักศึกษาให้มีความรู้ความสามารถและเจตคติในด้าน primary care ให้มากขึ้น. นักการศึกษาต่างก็มองเห็นว่า โรงเรียนแพทย์ซึ่งเน้นการให้บริการผู้ป่วยระดับตติยภูมินั้นไม่เหมาะที่จะฝึกอบรมด้าน primary care แก่นักศึกษา ...