Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » คอลัมน์ » คำถามที่ท่านควรรู้ในเวชปฏิบัติทั่วไป

คำถามที่ท่านควรรู้ในเวชปฏิบัติทั่วไป (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)

  • แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยที่ถูกงูพิษกัด (ตอนจบ)(Practice Guideline for Management of Patients with Snake Bite)

    วารสารคลินิก 297 กันยายน 2552
    การให้เซรุ่มแก้พิษงู (antivenom)Qเซรุ่มแก้พิษงูและแหล่งผลิตAปัจจุบันมีเซรุ่มแก้พิษงูในประเทศไทยแบบ monovalent antivenom รวม 7 ชนิดซึ่งผลิตจาก สถานเสาวภา โดย 3 ชนิดมีผลิตทั้งจากสถานเสาวภาและองค์การเภสัชกรรม (#)¾งูเห่าไทย (Cobra, Naja kaouthia) #¾งูจงอาง (King cobra, Ophiophagushunnah)¾งูสามเหลี่ยม (Banded krait, ...
  • ไข้หวัดหมูเรียบเรียงจาก http://www.cdc.gov

    วารสารคลินิก 294 มิถุนายน 2552
    Q : ไข้หวัดหมูคืออะไรA : ชื่อเรียกในปัจจุบันใช้คำว่า Influenza A (H1N1) หรืออาจเรียก Swine-Origin Influenza A (S-OIV) ถ้าแยกรายละเอียดของไข้หวัดใหญ่ จะแบ่งเป็น 3 สายพันธุ์ใหญ่ๆ คือ type A, B และ C โดย type C จะพบน้อยที่สุด ในวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่โดยทั่วไปจะมีสายพันธุ์ A และ B.ในสายพันธุ์ A ยังแบ่งย่อยลงไปอีกเป็น subtype ...
  • คนปกติจำเป็นต้องหยอดน้ำตาเทียมหรือไม่

    วารสารคลินิก 293 พฤษภาคม 2552
    Q : น้ำตาเทียมมีประโยชน์สำหรับคนปกติหรือไม่A : น้ำตาเทียมที่มีวางขายอยู่มากมายหลายยี่ห้อในร้านขายยา เป็นยาหยอดตาประเภทหนึ่งซึ่งช่วย เพิ่มความชุ่มชื้นให้กับดวงตาของเรา ถ้าเปรียบเทียบ คงคล้ายน้ำมันหล่อลื่นซึ่งมีความสำคัญสำหรับเครื่องยนต์ ทุกชนิด รวมถึงดวงตาของมนุษย์ที่ต้องมีการกระพริบถึงนาทีละ 10-15 ครั้ง เพื่อให้น้ำหล่อเลี้ยงลูกตามาฉาบดวงตา. ...
  • Varicose vein (ตอนจบ)

    วารสารคลินิก 292 เมษายน 2552
    Q : วินิจฉัย varicose vein ได้อย่างไรA: เริ่มต้นด้วยการซักประวัติ โดยซักถึง onset,ปัจจัยเสี่ยง(เช่น พันธุกรรม, อาชีพ, อุบัติเหตุที่ขา), ประวัติอาการบวม, ประวัติการรักษาเกี่ยวกับโรคหลอดเลือดขอด และประวัติการเป็น deep vein thrombosis ซึ่งก็คือการซักเพื่อจะแยกระหว่าง primary กับ secondary varicose vein ...
  • Varicose vein (ตอนที่ 1)

    วารสารคลินิก 291 มีนาคม 2552
    Q : Varicose vein คืออะไรA : Varicose vein คือ superficial vein ที่ขยาย ตัวขี้น, ยืดยาวขึ้น และคดเคี้ยว โดยไม่ขึ้นกับขนาด โดยที่อาจจะเห็นเป็นเพียง telengiectasia (spider vein) ดังภาพที่ 1 ซึ่งเป็นหลอดเลือดฝอยที่ขยายตัว ขึ้นเป็นกลุ่มเส้นสีแดงหรือน้ำเงิน หรือมีขนาดใหญ่คดเคี้ยวจนเห็นได้ชัดเจนดังภาพที่ 2.Q : สาเหตุของ varicose vein ...
  • PSA (Prostate Specific Antigen)

    วารสารคลินิก 290 กุมภาพันธ์ 2552
    Q : PSA คืออะไรA : PSA เป็น glycoprotein ชนิดหนึ่ง เรียกว่า serine protease ถูกค้นพบครั้งแรกในปี พ.ศ. 2513 มีขนาดน้ำหนักประมาณ 34 kilodalton ซึ่งผลิตมาจากเซลล์เยื่อบุผิวของ prostate gland และพบได้เฉพาะใน prostatic tissue ไม่ว่าจะเป็น normal, benign, malignant และใน prostatic fluid นอกจากนี้ยังพบมากที่ seminal vesicle ...
  • Gastrointestinal Stomal Tumor(GIST) (ตอนจบ)

    วารสารคลินิก 289 มกราคม 2552
    Q : การวินิจฉัยทาง pathology ทำอย่างไรA : GIST ส่วนใหญ่จะมีลักษณะทาง histology 3 แบบ คือ161.Spindle cells เป็นส่วนใหญ่ (เป็นลักษณะที่พบบ่อยที่สุด).2.Epithelioid cells เป็นส่วนใหญ่.3.ผสมกันทั้ง spindle cells และ epithelioid ...
  • Gastrointestinal Stomal Tumor (GIST) (ตอนที่ 2)

    วารสารคลินิก 288 ธันวาคม 2551
    Q การรักษา GIST มีกี่แบบ อะไรบ้างA การรักษา GIST ประกอบไปด้วย การผ่าตัด และการรักษาด้วยยา ซึ่งต้องพิจารณาดังต่อไปนี้1. Primary diseaseผู้ป่วย GIST ที่ยังไม่พบว่ามีการกระจายของโรค การผ่าตัดเป็นการรักษาหลักในผู้ป่วยกลุ่มนี้ โดยการผ่าตัด wide resection (R0 resection) ซึ่งทำการตัดเนื้องอกทั้งหมด รวมทั้งเนื้อเยื่อปกติที่อยู่รอบๆ ทั้งนี้ไม่มีความจำเป็นที่จะต้องเลาะต่อมน้ำเหลืองใกล้เคียงออกไปด้วย ...
  • โรคจอประสาทตาเสื่อม (ตอนจบ)

    วารสารคลินิก 286 ตุลาคม 2551
    Q จะทราบได้อย่างไรว่าเป็นโรคจอประสาทตาเสื่อมA ผู้ป่วยที่เป็นโรคนี้อาจแสดงอาการแตกต่างกันในผู้ป่วยแต่ละคน โดยส่วนใหญ่จะมีอาการตามัวโดยเฉพาะอย่างยิ่งตรงกลางภาพ มีความลำบากในการอ่านหนังสือหรือทำงานละเอียดและต้องใช้แสงมากๆ อาจเห็นภาพบิดเบี้ยว (distortion) ในโรคจอประสาทตาเสื่อมชนิดเปียก. ความผิดปกติในการมองเห็นตั้งแต่ระยะเริ่มแรกของโรค อาจยากต่อการสังเกตโดยเฉพาะถ้าตาอีกข้างหนึ่งยังมองเห็นได้ดี. ...
  • Gastrointestinal Stomal Tumor (GIST) (ตอนที่ 1)

    วารสารคลินิก 287 ตุลาคม 2551
    Q : GIST คือ อะไรA : GIST ย่อมาจาก Gastrointestinal Stomal Tumor เป็น mesenchymal tumor ที่พบได้บ่อยที่สุดของทางเดินอาหาร โดยในอดีตมักถูกวินิจฉัยผิดเป็น leiomyoma หรือ leiomyosarcoma เนื่องจาก ตำแหน่งการเกิดอยู่ในชั้น muscularis propria และมีลักษณะทาง morphology คล้ายกับ smooth muscle neoplasm.1 ต่อมาเมื่อมีการค้นพบ C-KIT protein (CD117) และพบว่า GIST มีการ ...
  • 1
  • 2
  • 3
  • 4
  • 5
  • ›
  • »
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • 108 ปัญหายา
  • Guideline
  • กฎหมายการแพทย์น่ารู้
  • กดจุดเพื่อสุขภาพ
  • กรมควบคุมโรค
  • กลไกการเกิดโรค
  • กว่าจะเป็นแม่
  • กันไว้ดีกว่าแก้
  • การรักษาขั้นต้น
  • การรักษาพื้นบ้าน
  • การแพทย์ตะวันออก
  • การใช้ยา พอเพียง
  • การ์ตูน "กินสร้างสุข"
  • กินถูก...ถูก
  • กีฬาบำบัด
  •  
  • 1 จาก 14
  • ››

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa