Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » คอลัมน์ » คู่มือหมอครอบครัว

คู่มือหมอครอบครัว (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)

  • คู่มือหมอครอบครัว 53 ครอบครัวที่หย่าร้าง(ตอนที่2)(Divorcing family-episode 2)

    วารสารคลินิก 293 พฤษภาคม 2552
    จากความตอนที่แล้ว ได้พูดคุยกับผู้ป่วยหญิงที่มาด้วยอาการปวดศีรษะเรื้อรังมานานหลายปี และปวดถี่ขึ้นหลังจากที่สามีขอหย่า สามารถสรุปปัญหาสุขภาพแบบองค์รวมของผู้ป่วยรายนี้ได้ดังนี้สรุปปัญหาสุขภาพองค์รวม31-year woman, mom of 1-year old boy, with1.Chronic tension-typed headache [due to the divorce]2.Separation phase of the divorcing family3.Couple violence after divorce ...
  • คู่มือหมอครอบครัว 52 ครอบครัวที่หย่าร้าง (ตอนที่ 1)" [Divorcing family-episode 1]

    วารสารคลินิก 292 เมษายน 2552
    "อีก 6 วัน จะถึงวันหย่าแล้วค่ะหมอ... ทำไมคะ ทำไมต้องมาเกิดกับหนู หนูไปทำอะไรผิด มันเจ็บมากค่ะหมอ รู้สึกสภาพจิตใจมันแย่สุดๆ ... เหงา...โหวงๆ... บอกไม่ถูก"SMS ที่ถูกส่งมาจากคนไข้รายหนึ่ง แม้จะผ่านการพูดคุยปลอบโยน จิตบำบัดกันไปหลายรอบแล้ว ก็ยังรู้สึกแบบข้างบน แพทย์ พยาบาลหลายคนที่บังเอิญต้องไปรับทราบและให้คำปรึกษาเรื่องหย่าๆร้างๆบ้าง คงรู้สึกแวบแรกว่า "เอาอีกแล้ว... ...
  • คู่มือหมอครอบครัว 51 เมื่อผู้ป่วย"ติดพนัน" (Pathological gambler)

    วารสารคลินิก 291 มีนาคม 2552
    การพนันดูจะเป็นสิ่งที่อยู่คู่กับสังคมมนุษย์มาช้านานไม่เว้นแม้แต่สังคมไทย คนไทยสามารถเล่นพนันได้ง่ายหลายรูปแบบ ทุกเพศ ทุกวัย แม้ว่าสังคมจะสร้างกฎหมาย ข้อบังคับต่างๆแต่การพนันก็ยังเป็นที่นิยมและเข้าถึงได้ตลอดปี เช่น เล่นหวย(ทั้งบนดินและใต้ดิน) พนันบอล พนันมวย พนันไก่ชน วงไพ่ ฯลฯ ในเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมารัฐบาลเปิดโอกาสให้การเล่นหวยเป็นสิ่งถูกกฎหมาย และอาชีพที่เกิดใหม่สำหรับคนไทยคือ คนถือโพยหวย. ...
  • คู่มือหมอครอบครัว 50 เมื่อผู้ป่วยไม่ให้ความร่วมมือ (ในการรักษา) [Non-compliance patient]

    วารสารคลินิก 290 กุมภาพันธ์ 2552
    น้องสาว : "อาแบ (พี่ชาย) ไม่ยอมกินยาเลยค่ะหมอ หนูไม่รู้จะทำยังไงแล้ว หมอช่วยดูหน่อยแล..."ผู้ป่วย :"ก็ที่อาแบ (พี่ชาย) ไม่หาย เพราะยาที่ยอ (หมอ) ให้กินหรือเปล่า.."หมอแต่ละคนคงเคยมีประสบการณ์กับคนไข้ที่ไม่ยอมให้ความร่วมมือในการรักษาพยาบาล (Non-compliance patient) ไม่ว่าจะเป็น... ไม่ยอมกินยาที่แพทย์สั่งให้ ไม่มาตามนัด ไม่ควบคุมอาหารตามคำแนะนำ ไม่ยอมทำแผลอย่างที่สั่งไป ...
  • คู่มือหมอครอบครัว 49"ผู้ดูแล" ... ผู้ป่วยที่ถูกลืมในเวชปฏิบัติ [The caregiver-Hidden patient in clinical practice]

    วารสารคลินิก 289 มกราคม 2552
    "ทุกวันนี้ พี่จะไม่ไหวแล้วค่ะคุณหมอ... พูดเท่าไหร่ คุณพ่อก็ไม่เคยฟัง"ในปัจจุบันจำนวนผู้ป่วยที่ต้องการได้รับการดูแลจากผู้ดูแล (Caregiver) เพิ่มมากขึ้นด้วยสาเหตุและปัจจัยหลายอย่าง เช่น อายุยืนยาวขึ้น (ด้วยสุขภาพที่ย่ำแย่) โรคสมองเสื่อมเพิ่มขึ้นตามอายุที่เพิ่ม จำนวนอุบัติเหตุเพิ่มขึ้นทำให้มีผู้พิการสูงขึ้น การเกิดอัมพฤกษ์และอัมพาตจากเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่เป็นมานาน ...
  • สนทนาปัญหาทางเพศกับผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (Sex talk with the chronically ill patient)

    วารสารคลินิก 276 ธันวาคม 2550
    ผู้ป่วยในเวชปฏิบัติทั่วไปมักมาตรวจด้วยอาการที่หลากหลาย ทั้งที่เป็นปัญหาแบบเฉียบพลันและเรื้อรัง ปัญหาสุขภาพทางเพศก็เป็นอีกปัญหาหนึ่งที่สำคัญและพบบ่อย เพียงแต่....... ผู้ป่วย อยากถาม แต่ ไม่กล้าพูด ... แพทย์ ไม่อยากถาม และไม่รู้จะพูดอะไรหากถูกถาม ผู้ป่วยมักไม่ได้มาปรึกษาปัญหาสุขภาพทางเพศเป็นอาการสำคัญ แต่จะเลียบๆเคียงๆถามหลังจากคุ้นเคยกับหมอสักพัก หรือลักษณะที่พบบ่อยกว่า คือ ...
  • ได้ยิน แต่ไม่ได้ฟัง (Hearing but not Listening)

    วารสารคลินิก 274 ตุลาคม 2550
    เคยรู้สึกไหม ...... ทำไมคนไข้ "ดื้อ" (บอกให้ทำอะไร แล้วไม่ทำ)... ทำไมคนไข้ "พูดไม่รู้ฟัง" (หมอพูด แต่คนไข้ไม่เชื่อฟัง)... ทำไมคนไข้ "รู้แล้วยังไม่ทำ" (รู้เรื่องโรคดี แต่ไม่เปลี่ยนพฤติกรรม)... ไม่รู้หรืออย่างไรว่าจะเกิดเหตุร้ายกับตัวเอง ทำไมไม่ป้องกันแก้ไขตามที่บอก... ไม่รู้หรือว่าหมอเหนื่อยนะ ไม่เห็นหรืออย่างไรว่าหมอหวังดีความคิดเหล่านี้ทำให้หมอ "ได้ยิน" ...
  • การดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่แสนดื้อ (Working with Chronically ill and stubborn patient)

    วารสารคลินิก 273 กันยายน 2550
    เคยไหมที่จะรู้สึกเบื่อหน่ายกับการรักษาโรคเรื้อรัง จำพวกเบาหวาน ความดันโลหิตสูง รักษาไปก็ไม่เห็นจะหาย คนไข้เก่าก็มานัดติดตามมากมาย คนไข้ใหม่ก็ไปคัดกรองได้มาเพิ่มอีก แน่นขนัดไปหมดทุกคลินิก มันทั้งเหนื่อยและเครียดนะสำหรับผู้รักษา.เคยไหมที่จะรู้สึกเซ็งกับคนไข้ดื้อ พูดไม่รู้เรื่อง สั่งแล้วไม่ทำตาม อวดรู้ อยากทำอย่างนั้นอย่างนี้ สั่งจะเอายานั้นยานี้ เห็นเราเป็นร้านขายยาหรืออย่างไร ...
  • ปัญหาการดูแลผู้สูงอายุอย่างไม่เหมาะสม (Elderly mistreatment)

    วารสารคลินิก 272 สิงหาคม 2550
    ...
  • การจากไปอย่างมีความสุข The happy end of life

    วารสารคลินิก 271 กรกฎาคม 2550
    แม้ว่าการเกิด แก่ เจ็บ ตายเป็นเรื่องธรรมดาของชีวิต แต่หลายคนไม่อยากคิดถึงหรือพูดถึง โดยเฉพาะการเจ็บและการตาย จนเมื่อวาระสุดท้ายมาถึง ใครกันที่เป็นคนตัดสินใจ ตนเอง ครอบครัว แพทย์ หรือแล้วแต่บุญกรรม ในโลกปัจจุบันที่มีการแพทย์นำสมัย อาจมีผู้ป่วยจำนวนไม่มากนักที่มีโอกาสตัดสินใจเลือกทางชีวิตของตนเอง. สำหรับวัฒนธรรมไทย ขณะที่ร่างกายแข็งแรงดี ...
  • 1
  • 2
  • ›
  • »
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • 108 ปัญหายา
  • Guideline
  • กฎหมายการแพทย์น่ารู้
  • กดจุดเพื่อสุขภาพ
  • กรมควบคุมโรค
  • กลไกการเกิดโรค
  • กว่าจะเป็นแม่
  • กันไว้ดีกว่าแก้
  • การรักษาขั้นต้น
  • การรักษาพื้นบ้าน
  • การแพทย์ตะวันออก
  • การใช้ยา พอเพียง
  • การ์ตูน "กินสร้างสุข"
  • กินถูก...ถูก
  • กีฬาบำบัด
  •  
  • 1 จาก 14
  • ››

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa