Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » คำถามสุขภาพ » ดูแลสุขภาพ

ดูแลสุขภาพ

  • ยากลุ่มกรดวิตามินเอ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 342 ตุลาคม 2550
    ยากลุ่มกรดวิตามินเอถาม : วรรณา/กรุงเทพฯดิฉันมีสิวอักเสบมาก คุณหมอบอกว่าเป็นโรค สิวหัวช้าง แนะนำให้กินยาลดสิวกลุ่มกรดวิตามินเอ ซึ่งคุณหมอบอกว่ายาตัวนี้ถ้าตั้งครรภ์จะทำให้เด็กพิการ ดิฉันกินยาวันละ ๑๐ มิลลิกรัม ต่อเนื่องกันมานาน ๘ เดือนแล้ว  เมื่อเดือนที่แล้วที่บริษัทมีการ ตรวจร่างกายประจำปี แพทย์ของบริษัทบอกว่าดิฉันมีค่าเอนไซม์ตับสูงผิดปกติ ซึ่งอาจเกิดจากการ กินยารักษาสิวก็ได้ ...
  • สิ่งที่ควรรู้เกี่ยวกับ spinal anesthesia (ตอนที่ 1)

    วารสารคลินิก 274 ตุลาคม 2550
      ภาพที่ 1. ระดับช่องกระดูกไขสันหลัง L3-L4 เป็นตำแหน่งที่นิยมเลือกทำ spinal anesthesia.Q Spinal anesthesia คืออะไรA Spinal anesthesia คือการฉีดยาชาเฉพาะที่เข้า subarachnoid space โดยยาชาเฉพาะที่จะเข้าไปอาบที่ ...
  • ยาป้องกันไข้รูมาติก

    วารสารคลินิก 274 ตุลาคม 2550
    คำถาม ขอทราบเกี่ยวกับยาที่สามารถป้องกันไข้รูมาติกได้ผล.สมาชิกคำตอบ เมื่อเป็นไข้รูมาติกแล้วจำเป็นต้องให้ยาป้องกันไม่ให้กลับเป็นซ้ำ (secondary prophylaxis) เพื่อไม่ให้กลายเป็นโรคลิ้นหัวใจรูมาติกถาวร หรือไม่ให้โรคลิ้นหัวใจที่เป็นอยู่แล้วทรุดลง สามารถเลือกใช้ยาป้องกันอย่างใดอย่างหนึ่งดังแสดงในตารางที่ 1 การให้ยาฉีดจะมีประสิทธิภาพดีกว่ายากิน ระยะเวลาที่ต้องให้ยาป้องกันแสดงในตารางที่ 2.ตารางที่ 1. ...
  • Rosiglitazone โยงใยกับการตายด้วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด

    วารสารคลินิก 271 กรกฎาคม 2550
    Disclaimer : รายงานการศึกษาวิจัยทางการแพทย์มีมากมายมหาศาล ในขณะนี้เป็นสิ่งที่ต้องติดตามเป็นอย่างยิ่ง คอลัมน์นี้ได้สรุปรายงานการศึกษาที่น่าสนใจที่ลงในวารสารทางการแพทย์ที่ผ่าน peer review มาให้สมาชิกทราบ แต่ข้อพึงระวังคือ ไม่ใช่ว่าทุกอย่างที่มีการรายงานการศึกษาจะมีความถูกต้องเป็นสัจจะ เพราะไม่มีอะไรถูกต้องร้อยเปอร์เซ็นต์ ในทางการแพทย์ ความรู้ ความเชื่อ ณ วันนี้อาจได้การยอมรับ แต่ความรู้ใหม่ๆ ...
  • ปัญหาที่มักพบในการรักษา neuropathic pain

    วารสารคลินิก 271 กรกฎาคม 2550
    Neuropathic pain หมายถึง อาการปวดแบบเรื้อรัง (chronic pain) ซึ่งหาสาเหตุของการเกิดไม่ได้ แตกต่างกับอาการปวดแบบเฉียบพลัน (acute pain) ที่หาสาเหตุได้ นอกจากนี้ระยะเวลาในการเป็นนั้นนานกว่า 3 เดือน แม้ว่าจะใช้ยาในการรักษาเป็นเพียงการบรรเทาแต่ไม่สามารถที่จะหายขาดได้ เนื่องจากใยประสาทรับความรู้สึกถูกทำลายโดยตรง หรือเกิด central sensitization ...
  • โรคที่มากับมือ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 337 พฤษภาคม 2550
    ถามตอบปัญหาสุขภาพโรคที่มากับ...มือถาม : จาตุรนต์/ลพบุรีมีข่าวจากกระทรวงสาธารณสุข เชิญชวนให้ใช้ช้อนกลาง ล้างมือด้วย เพื่อป้องกันโรค ผมต้องการทราบว่าการล้างมือป้องกันโรคอะไรได้บ้าง  ตอบ : นพ.นพวัชร์ สมานคติวัฒน์คนเราใช้มือจับต้องสิ่งต่างๆ ตั้งแต่ลืมตาขึ้นมาตอนเช้า ล้างหน้า แปรงฟัน อาบน้ำ สัมผัสผู้อื่น รวมทั้งหยิบอาหารเข้าปาก ป้ายตา ...
  • ฝึกแขนอัมพฤกษ์โดยรัดแขนดี ในผู้ป่วยหลัง stroke

    วารสารคลินิก 269 พฤษภาคม 2550
    Disclaimer : รายงานการศึกษาวิจัยทางการแพทย์มีมากมายมหาศาล ในขณะนี้เป็นสิ่งที่ต้องติดตามเป็นอย่างยิ่ง คอลัมน์นี้ได้สรุปรายงานการศึกษาที่น่าสนใจที่ลงในวารสารทางการแพทย์ที่ผ่าน peer review มาให้สมาชิกทราบ แต่ข้อพึงระวังคือ ไม่ใช่ว่าทุกอย่างที่มีการรายงานการศึกษาจะมีความถูกต้องเป็นสัจจะ เพราะไม่มีอะไรถูกต้องร้อยเปอร์เซ็นต์ ในทางการแพทย์ ความรู้ ความเชื่อ ณ วันนี้อาจได้การยอมรับ แต่ความรู้ใหม่ๆ ...
  • มดลูกย้อยเพราะคลอดทางช่องคลอดจริงหรือไม่

    วารสารคลินิก 269 พฤษภาคม 2550
    มดลูกย้อยเพราะคลอดทางช่องคลอดจริงหรือไม่ Buchsbaum GM, et al. Pelvic organ prolapse in nulliparous women and their parous sisters. Obstet Gynecol December 2006;108:1388-93.แต่ละปีมีสตรี จำนวนไม่น้อยที่เข้ารับการผ่าตัดตกแต่งช่องคลอดเพราะอวัยวะในช่องเชิงกราน ย้อยลงช่องคลอด และมีความเชื่อว่าการคลอดลูกทางช่องคลอดเป็นปัจจัยเสี่ยงสำคัญที่สุดของภาวะ ดังกล่าว ...
  • Oral anticoagulant : Warfarin

    วารสารคลินิก 268 เมษายน 2550
    Warfarin เป็นยาในกลุ่มยาต้านการแข็งตัวของเลือดชนิดกิน (oral anti-coagulant) มีข้อบ่งใช้ในการป้องกันการแข็งตัวของเลือดจนเกิดการอุดตันของหลอดเลือด ผู้ที่มีความเสี่ยงต่อภาวะดังกล่าว เช่น ผู้ป่วยภาวะ deep vein thrombosis, pulmonary embolism, atrial fibrillation, myocardial infarction, cardio embolism, stroke รวมถึงผู้ป่วยที่ใส่ลิ้นหัวใจเทียม ...
  • หลักการใช้ยาทั่วไปในสหวิชาชีพ (2)

    วารสารคลินิก 267 มีนาคม 2550
    การใช้ยามีหลักการสำคัญเพื่อที่จะมุ่งเน้น ให้ได้ผลการรักษาที่ถูกต้องเหมาะสม และเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยแต่ละราย โดยการที่ผู้ป่วยแต่ละรายควรได้รับยาที่เหมาะสมกับสภาวะของตน มีข้อบ่งใช้ที่เหมาะสม มีประสิทธิผลมากที่สุด มีความปลอดภัยมากที่สุด เอื้อให้เกิดการร่วมมือในการใช้ยามากที่สุด และมีราคาเหมาะสมกับเศรษฐฐานะของผู้ป่วย หรือที่สามารถจดจำได้ง่ายๆ ว่า IESAC เพื่อบรรลุเป้าหมายนี้ ...
  • «
  • ‹
  • 1
  • 2
  • 3
  • 4
  • 5
  • 6
  • 7
  • 8
  • 9
  • …
  • ›
  • »
Skip to Top

คำถามสุขภาพ

  • ทั้งหมด
  • การแพทย์ทางเลือก
    • แพทย์แผนไทย
      • กดจุด
      • นวดไทย
    • แพทย์แผนจีน
  • ดูแลสุขภาพ
    • การดูแลผู้สูงอายุ
    • การปฐมพยาบาล
    • การรักษาเบื้องต้น
    • การใช้ยาสมุนไพร
    • คู่มือดูแลสุขภาพ
    • ยาและวิธีใช้
    • ตรวจสุขภาพด้วยตัวเอง
      • คำนวณค่า BMI
      • วินิจฉัยโรคเบื้องต้น
      • แนะนำการตรวจสุขภาพประจำปี
    • คุยสุขภาพ
      • กรณีศึกษา
      • ถามตอบปัญหาสุขภาพ
  • สุขภาพทางเพศและครอบครัว
    • การดูแลบุตร
    • แม่และเด็ก
    • การตั้งครรภ์
    • เรียนรู้เรื่องเพศและการวางแผนครอบครัว
  • สร้างเสริมสุขภาพ 3 อ. และป้องกันโรค
    • อาหาร
      • อาหาร 5 หมู่
      • อาหารของผู้่ป่วยโรคเรื้อรัง
        • ความดันสูง
        • หัวใจ
        • เกาต์
        • เบาหวาน
      • อาหารที่ควรหลีกเลี่ยง
      • อาหารป้องกันมะเร็ง
      • อาหารสมุนไพร
    • ออกกำลังกาย
      • วิ่ง เดิน ปั่นจักรยาน ว่ายน้ำ แอร์โรบิค แอร์โรบอคซิ่ง รำกระบอง ไทเก็ก ชี่กง โยคะ
    • อารมณ์
      • การทำสมาธิ
      • การพักผ่อน
      • การพัฒนา EQ
      • จิตอาสา/ ฉือจี้
  • พฤติกรรมอันตราย
    • พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ
    • อนามัยสิ่งแวดล้อม
    • อิริยาบถ
  • โรคและอาการ
    • โรคเรื้อรัง
      • กลุ่มอาการเมตาโบลิค
      • ความดันโลหิตสูง
      • ถุงลมปอดโป่งพอง
      • มะเร็ง
      • อัมพฤกษ์ อัมพาต
      • เบาหวาน
      • โรคข้อ/เกาต์
      • โรคทางจิตเวช เครียด หวาดระแวง
      • โรคหวัด ภูมิแพ้
      • โรคหัวใจ
      • โรคหืด
      • ไขมันในเลือดสูง/ผิดปกติ
      • ไตวาย
    • โรคตามระบบ
      • ระบบทางเดินอาหาร
      • โรคจากอุบัติเหตุ สารพิษ และสัตว์พิษ
      • โรคช่องปากและฟัน
      • โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
      • โรคติดเชื้อ
      • โรคผิวหนัง
      • โรคพยาธิ
      • โรคระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
      • โรคระบบต่อมไร้ท่อ
      • โรคระบบทางอวัยวะเพศชาย
      • โรคระบบทางอวัยวะเพศหญิง
      • โรคระบบทางเดินปัสสาวะ
      • โรคระบบทางเดินหายใจ
      • โรคระบบประสาทและสมอง
      • โรคระบบไหลเวียนโลหิต
      • โรคหู ตา คอ จมูก
    • โรคจากการทำงาน
      • พิษภัยจากสารเคมี (ยาฆ่าเมลง/ สารตะกั่ว)
      • โรคจากฝุ่นและสารเคมีในโรงงาน
      • โรคจากสัตว์ เช่น ฉี่หนู
      • โรคจากอริยาบทที่ผิดสุขลักษณะ
      • โรคเส้นเอ็นอักเสบ/ นิ้วล็อค
  • อื่น ๆ

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa