Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » คำถามสุขภาพ » ดูแลสุขภาพ

ดูแลสุขภาพ

  • คำถามเกี่ยวกับยาปฏิชีวนะ

    วารสารคลินิก 287 พฤศจิกายน 2551
    ถามการใช้ยา sulperazone จำเป็นต้องให้วิตามินเค ร่วมด้วยทุกครั้งหรือไม่ ตอบยา sulperazone เป็นยาปฏิชีวนะ ประกอบ  ด้วยยา 2 ชนิด คือ cefoperazone และ sulbactam อย่างละ 1 กรัม เนื่องจากโครงสร้างของ cefoperazone จะไปรบกวนการสร้างวิตามินเคของผู้ป่วย ส่งผลให้เกิด hypoprothrombinemia และอาจเพิ่มความเสี่ยงของเลือดออกมากกว่าปกติถึงแม้ว่าจะมีโอกาสไม่มากก็ตาม.ในกรณีที่พบว่าผู้ป่วยเกิดอาการ ...
  • Amitriptyline และ fluoxetine

    วารสารคลินิก 286 ตุลาคม 2551
    ถาม การให้ยา amitriptyline และ fluoxetine ในผู้ป่วยโรคซึมเศร้า มีข้อแตกต่างอย่างไร และต้องใช้ระยะเวลานานเท่าไร.สมาชิกเก่าตอบ ความแตกต่างของยา 2 ขนานอยู่ที่อาการข้างเคียง ความปลอดภัย และการปรับขนาดยา.- ยา amitriptyline เป็นยาแก้ซึมเศร้า กลุ่ม tricyclic อาการข้างเคียงที่พบบ่อยได้แก่ ง่วงซึม ตาพร่ามัว ท้องผูก มี postural hypotension และทำให้มี PR และ QRS interval ยาวขึ้น ...
  • โรคลมชัก

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 353 กันยายน 2551
    ถาม : นที/สงขลาต้องการทราบวิธีการปฐมพยาบาลผู้ป่วยลมชักและการปฏิบัติตัว ทั้งยามฉุกเฉินและยามปกติตอบ : นพ.กัมมันต์ พันธุมจินดาปัจจุบันยังไม่มีวิธีใดที่สามารถหยุดอาการชักได้ แม้แต่ยากันชักที่ผู้ป่วยกินเป็นประจำ ดังนั้นจึงต้องปล่อยให้อาการชักดำเนินต่อไปจนสิ้นสุดระยะของอาการเองการปฐมพยาบาลเป็นเพียงการป้องกันไม่ให้เกิดบาดเจ็บระหว่างชักเท่านั้น ...
  • ปัญหาวิชาการ

    วารสารคลินิก 281 พฤษภาคม 2551
    การตรวจวินิจฉัยผู้ป่วย laryngeal massถาม ชายไทยอายุ 70 ปี มาตรวจด้วยสงสัย laryngeal mass ขอเรียนถามดังนี้1. ควรตรวจหรือ investigate อะไรบ้าง.2. การทำ CT larynx จะช่วยให้ข้อมูลและประโยชน์ในการรักษา/การวางแผนการรักษาบ้างในลักษณะใด.สมาชิกประจำตอบ ในกรณีที่สงสัยว่ามีก้อนที่บริเวณกล่องเสียง มีวิธีการตรวจดังนี้ คือ1. สิ่งที่ควรทำอย่างยิ่ง คือ การส่องกล้อง laryngoscope ...
  • โรคสิวในเวชปฏิบัติ (Acne in Clinical Practice) ตอนจบ : ความเชื่อที่ผิดและคำถามที่พบบ่อยเกี่ยวกับโรคสิว (Acne Myths and FAQs)

    วารสารคลินิก 281 พฤษภาคม 2551
    ความเชื่อที่ผิดและคำถามที่พบบ่อยเกี่ยวกับโรคสิว (Acne Myths and FAQs) เนื่องจากโรคสิวเป็นโรคที่พบบ่อยและบางครั้งก่อความกังวลให้แก่ผู้ป่วย อีกทั้งผู้ป่วยอาจมีความเชื่อที่ผิดเกี่ยวกับโรคสิว แพทย์จึงควรให้สุขศึกษาที่ถูกต้องกับผู้ป่วย ขอยกตัวอย่างความเชื่อที่ผิดและคำถามที่พบบ่อยเกี่ยวกับโรคสิว ดังนี้ความเชื่อที่ผิดเกี่ยวกับโรคสิว ฝุ่นละอองและสิ่งสกปรกเป็นสาเหตุของสิว จึงควรล้างหน้าฟอกสบู่บ่อยๆ ...
  • กินยาคุมกำเนิด ย้อนศร

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 348 เมษายน 2551
    กินยาคุมกำเนิดย้อนศรถาม : เพชราภรณ์/ขอนแก่นการกินยาคุมกำเนิดสามารถ กินย้อนศรได้หรือไม่ จะส่งผล  อย่างไรตอบ : ภญ.เพ็ญนภา ม่วงศรียาเม็ดคุมกำเนิดโดยทั่วไปจะมี ๒ ชนิดคือ ชนิดแผงละ ๒๘ เม็ดและ ๒๑ เม็ดแผงละ ๒๘ เม็ดจะมี ๒๑ เม็ด เป็นยาฮอร์โมนที่มีฤทธิ์ในการคุมกำเนิด ส่วนอีก ๗  เม็ดเป็นแป้งหรือ ธาตุเหล็กที่ไม่มีผลในการคุมกำเนิดเพียงแต่ช่วยเตือนความจำและเพิ่มความสะดวกในการกินยาแผงละ ๒๑ ...
  • Warfarin vs. aspirin ในการป้องกัน stroke

    วารสารคลินิก 278 กุมภาพันธ์ 2551
    Disclaimer : รายงานการศึกษาวิจัยทางการแพทย์มีมากมายมหาศาล ในขณะนี้เป็นสิ่งที่ต้องติดตามเป็นอย่างยิ่ง คอลัมน์นี้ได้สรุปรายงานการศึกษาที่น่าสนใจที่ลงในวารสารทางการแพทย์ที่ผ่าน peer review มาให้สมาชิกทราบ แต่ข้อพึงระวังคือ ไม่ใช่ว่าทุกอย่างที่มีการรายงานการศึกษาจะมีความถูกต้องเป็น สัจจะ เพราะไม่มีอะไรถูกต้องร้อยเปอร์เซ็นต์ ในทางการแพทย์ ความรู้ ความเชื่อ ณ วันนี้อาจได้การยอมรับ แต่ความรู้ใหม่ๆ ...
  • ยาพ่น สตีรอยด์ ชะลออาการของ COPD ได้หรือไม่

    วารสารคลินิก 276 ธันวาคม 2550
    Disclaimer : รายงานการศึกษาวิจัยทางการแพทย์มีมากมายมหาศาล ในขณะนี้เป็นสิ่งที่ต้องติดตามเป็นอย่างยิ่ง คอลัมน์นี้ได้สรุปรายงานการศึกษาที่น่าสนใจที่ลงในวารสารทางการแพทย์ที่ผ่าน peer review มาให้สมาชิกทราบ แต่ข้อพึงระวังคือ ไม่ใช่ว่าทุกอย่างที่มีการรายงานการศึกษาจะมีความถูกต้องเป็นสัจจะ เพราะไม่มีอะไรถูกต้องร้อยเปอร์เซ็นต์ ในทางการแพทย์ ความรู้ ความเชื่อ ณ วันนี้อาจได้การยอมรับแต่ความรู้ใหม่ๆ ...
  • การตรวจสุขภาพตา

    วารสารคลินิก 275 พฤศจิกายน 2550
    Q อยากทราบว่าในคนปกติจำเป็นต้องไปตรวจสุขภาพตาเป็นประจำหรือไม่ หรือในกรณีใดจึงต้องไปพบจักษุแพทย์เพื่อตรวจสุขภาพตารัชดาภรณ์ ตันติมาลาA การตรวจสุขภาพตาจะช่วยให้ผู้ป่วยสามารถตรวจพบความผิดปกติของตาได้ตั้งแต่ในระยะต้น ซึ่งอาจสามารถทำให้ได้รับการรักษาได้อย่างมีประสิทธิภาพมากกว่าเมื่อปล่อยให้เป็นโรคตาในระยะรุนแรง แนวทางการตรวจสุขภาพตาที่แนะนำได้แก่- สังเกตลูกของเราด้วยตัวเราเอง ถ้ามีลักษณะลูกตาผิดปกติ ...
  • ยาใดมีประสิทธิภาพดีที่สุดในการรักษา epilepsy

    วารสารคลินิก 275 พฤศจิกายน 2550
    Disclaimer : รายงานการศึกษาวิจัยทางการแพทย์มีมากมายมหาศาล ในขณะนี้เป็นสิ่งที่ต้องติดตามเป็นอย่างยิ่ง คอลัมน์นี้ได้สรุปรายงานการศึกษาที่น่าสนใจที่ลงในวารสารทางการแพทย์ที่ผ่าน peer review มาให้สมาชิกทราบ แต่ข้อพึงระวังคือ ไม่ใช่ว่าทุกอย่างที่มีการรายงานการศึกษาจะมีความถูกต้องเป็น สัจจะ เพราะไม่มีอะไรถูกต้องร้อยเปอร์เซ็นต์ ในทางการแพทย์ ความรู้ ความเชื่อ ณ วันนี้อาจได้การยอมรับแต่ความรู้ใหม่ๆ ...
  • «
  • ‹
  • 1
  • 2
  • 3
  • 4
  • 5
  • 6
  • 7
  • 8
  • 9
  • …
  • ›
  • »
Skip to Top

คำถามสุขภาพ

  • ทั้งหมด
  • การแพทย์ทางเลือก
    • แพทย์แผนไทย
      • กดจุด
      • นวดไทย
    • แพทย์แผนจีน
  • ดูแลสุขภาพ
    • การดูแลผู้สูงอายุ
    • การปฐมพยาบาล
    • การรักษาเบื้องต้น
    • การใช้ยาสมุนไพร
    • คู่มือดูแลสุขภาพ
    • ยาและวิธีใช้
    • ตรวจสุขภาพด้วยตัวเอง
      • คำนวณค่า BMI
      • วินิจฉัยโรคเบื้องต้น
      • แนะนำการตรวจสุขภาพประจำปี
    • คุยสุขภาพ
      • กรณีศึกษา
      • ถามตอบปัญหาสุขภาพ
  • สุขภาพทางเพศและครอบครัว
    • การดูแลบุตร
    • แม่และเด็ก
    • การตั้งครรภ์
    • เรียนรู้เรื่องเพศและการวางแผนครอบครัว
  • สร้างเสริมสุขภาพ 3 อ. และป้องกันโรค
    • อาหาร
      • อาหาร 5 หมู่
      • อาหารของผู้่ป่วยโรคเรื้อรัง
        • ความดันสูง
        • หัวใจ
        • เกาต์
        • เบาหวาน
      • อาหารที่ควรหลีกเลี่ยง
      • อาหารป้องกันมะเร็ง
      • อาหารสมุนไพร
    • ออกกำลังกาย
      • วิ่ง เดิน ปั่นจักรยาน ว่ายน้ำ แอร์โรบิค แอร์โรบอคซิ่ง รำกระบอง ไทเก็ก ชี่กง โยคะ
    • อารมณ์
      • การทำสมาธิ
      • การพักผ่อน
      • การพัฒนา EQ
      • จิตอาสา/ ฉือจี้
  • พฤติกรรมอันตราย
    • พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ
    • อนามัยสิ่งแวดล้อม
    • อิริยาบถ
  • โรคและอาการ
    • โรคเรื้อรัง
      • กลุ่มอาการเมตาโบลิค
      • ความดันโลหิตสูง
      • ถุงลมปอดโป่งพอง
      • มะเร็ง
      • อัมพฤกษ์ อัมพาต
      • เบาหวาน
      • โรคข้อ/เกาต์
      • โรคทางจิตเวช เครียด หวาดระแวง
      • โรคหวัด ภูมิแพ้
      • โรคหัวใจ
      • โรคหืด
      • ไขมันในเลือดสูง/ผิดปกติ
      • ไตวาย
    • โรคตามระบบ
      • ระบบทางเดินอาหาร
      • โรคจากอุบัติเหตุ สารพิษ และสัตว์พิษ
      • โรคช่องปากและฟัน
      • โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
      • โรคติดเชื้อ
      • โรคผิวหนัง
      • โรคพยาธิ
      • โรคระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
      • โรคระบบต่อมไร้ท่อ
      • โรคระบบทางอวัยวะเพศชาย
      • โรคระบบทางอวัยวะเพศหญิง
      • โรคระบบทางเดินปัสสาวะ
      • โรคระบบทางเดินหายใจ
      • โรคระบบประสาทและสมอง
      • โรคระบบไหลเวียนโลหิต
      • โรคหู ตา คอ จมูก
    • โรคจากการทำงาน
      • พิษภัยจากสารเคมี (ยาฆ่าเมลง/ สารตะกั่ว)
      • โรคจากฝุ่นและสารเคมีในโรงงาน
      • โรคจากสัตว์ เช่น ฉี่หนู
      • โรคจากอริยาบทที่ผิดสุขลักษณะ
      • โรคเส้นเอ็นอักเสบ/ นิ้วล็อค
  • อื่น ๆ

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)< และสถาบัน ChangeFusion< พัฒนาระบบโดย Opendream< สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa <