Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » คำถามสุขภาพ » โรคและอาการ

โรคและอาการ

  • ต้อหิน

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 354 ตุลาคม 2551
    ถาม : มนัส/ราชบุรีที่ผ่านมามีข่าวดาราภาพยนตร์เป็นโรคต้อหินเกือบตาบอดผมต้องการรู้ว่าต้อหินมีสาเหตุจากอะไร สามารถป้องกันและสังเกตตัวเองได้อย่างไรตอบ : นพ.เจริญชัย จิวจินดาต้อหินคือโรคของเส้นประสาทตาเสื่อม ทำให้ตามัวลงอย่างช้าๆ และเป็นโรคที่ไม่สามารถรักษาให้มองเห็นชัดเจนเหมือนเดิมต้อหินเกิดได้จากหลายๆ สาเหตุ เช่น1. การใช้ยาหยอดตาที่มีส่วนผสมของสเตียรอยด์ติดต่อกันนานๆ ...
  • ปริศนาคลินิก

    วารสารคลินิก 286 ตุลาคม 2551
    "ภาพหนึ่งภาพอาจมีความหมายมากกว่าอักษรนับร้อยนับพันคำ การเรียนรู้จากภาพจริงเกี่ยวกับผู้ป่วย คือที่มาของ "ปริศนาคลินิก" ซึ่งบรรจุเนื้อหาอันเป็นปริศนาที่เลือกสรรอย่างบรรจงจากวิทยากรเพื่อกระตุ้นการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน"จิโรจ สินธวานนท์ พ.บ.ผู้อำนวยการสถาบันโรคผิวหนัง, กรมการแพทย์ ...
  • โรคจอประสาทตาเสื่อม (ตอนจบ)

    วารสารคลินิก 286 ตุลาคม 2551
    Q จะทราบได้อย่างไรว่าเป็นโรคจอประสาทตาเสื่อมA ผู้ป่วยที่เป็นโรคนี้อาจแสดงอาการแตกต่างกันในผู้ป่วยแต่ละคน โดยส่วนใหญ่จะมีอาการตามัวโดยเฉพาะอย่างยิ่งตรงกลางภาพ มีความลำบากในการอ่านหนังสือหรือทำงานละเอียดและต้องใช้แสงมากๆ อาจเห็นภาพบิดเบี้ยว (distortion) ในโรคจอประสาทตาเสื่อมชนิดเปียก. ความผิดปกติในการมองเห็นตั้งแต่ระยะเริ่มแรกของโรค อาจยากต่อการสังเกตโดยเฉพาะถ้าตาอีกข้างหนึ่งยังมองเห็นได้ดี. ...
  • ผู้ป่วยตาบอด

    วารสารคลินิก 286 ตุลาคม 2551
    อยากทราบแนวทางประเมินผู้ป่วยตาบอดQ อยากเรียนว่าแนวทางการประเมินเพื่อให้คำแนะนำผู้ป่วยตาบอด ว่าจะมีโอกาสรักษาให้กลับมามองเห็นได้หรือไม่อย่างไร และสามารถให้การช่วยเหลือผู้ป่วยได้อย่างไร.นพ.วุฒิ ตรีพรชัยศักดิ์A โดยทั่วไป ถ้าตาข้างที่บอดนั้นไม่สามารถมองเห็นได้แม้แต่แสงสว่างแล้ว มักไม่สามารถรักษาให้กลับมามองเห็นได้ แต่ต้องเป็นการตรวจที่ถูกวิธี กล่าวคือใช้บริเวณฝ่ามือปิดที่ตาอีกข้าง ...
  • Amitriptyline และ fluoxetine

    วารสารคลินิก 286 ตุลาคม 2551
    ถาม การให้ยา amitriptyline และ fluoxetine ในผู้ป่วยโรคซึมเศร้า มีข้อแตกต่างอย่างไร และต้องใช้ระยะเวลานานเท่าไร.สมาชิกเก่าตอบ ความแตกต่างของยา 2 ขนานอยู่ที่อาการข้างเคียง ความปลอดภัย และการปรับขนาดยา.- ยา amitriptyline เป็นยาแก้ซึมเศร้า กลุ่ม tricyclic อาการข้างเคียงที่พบบ่อยได้แก่ ง่วงซึม ตาพร่ามัว ท้องผูก มี postural hypotension และทำให้มี PR และ QRS interval ยาวขึ้น ...
  • หอบหืดดูแลตนเองอย่างไร

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 353 กันยายน 2551
    ถาม : ณหทัย/กรุงเทพฯหลานชายของดิฉันเป็นหอบหืด ทั้งๆที่พ่อแม่ ก็ไม่มีอาการการปฏิบัติตัวของผู้ที่เป็นหอบหืด จะต้องทำอย่างไรบ้างตอบ : นพ.พิพัฒน์ ชูวรเวชกรณีพ่อแม่ไม่เป็นหอบหืด ไม่ได้หมายความว่าลูกจะไม่เป็น ซึ่งอาจจะมีใครสักคนทางฝ่ายปู่ย่าและตายายที่เป็นหอบหืดแต่คุณไม่รู้ก็ได้โรคหอบหืด เรียกสั้นๆว่า โรคหืด เป็นโรคของหลอดลมหายใจ ผู้ป่วยจะหอบเหนื่อย ไอและมีเสียงหายใจดัง เป็นอาการของหายใจติดขัด ...
  • ปริศนาคลินิก

    วารสารคลินิก 285 กันยายน 2551
    "ภาพหนึ่งภาพอาจมีความหมายมากกว่าอักษรนับร้อยนับพันคำ การเรียนรู้จากภาพจริงเกี่ยวกับผู้ป่วย คือที่มาของ " ปริศนาคลินิก" ซึ่งบรรจุเนื้อหาอันเป็นปริศนาที่เลือกสรรอย่างบรรจงจากวิทยากรเพื่อกระตุ้นการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน"วลัยอร ปรัชญพฤทธิ์ พ.บ. กลุ่มงานไบโอเอ็นจิเนียริ่ง สถาบันโรคผิวหนัง ...
  • โรคจอประสาทตาเสื่อม (ตอน1)

    วารสารคลินิก 285 กันยายน 2551
    Q โรคจอประสาทตาเสื่อมคืออะไรA โรคที่มีความผิดปกติเกิดขึ้นที่จุดรับภาพของจอประสาทตา โรคนี้ทำให้สูญเสียการมองเห็นโดยเฉพาะกลางภาพ ซึ่งสามารถมองเห็นขอบด้านข้างของภาพได้ เช่น มองเห็นตัวคน ส่วนของใบหน้าเบลอมองเห็นไม่ชัด. ผู้ป่วยบางรายเกิดการเสื่อมของจอประสาทตาขึ้นอย่างช้าๆ จนแทบไม่ทันสังเกตเห็น ขณะที่บางรายอาจเกิดการเสื่อมของจอประสาทตาอย่างรวดเร็ว โรคนี้มักพบในผู้สูงอายุตั้งแต่อ่ายุ 50 ปีขึ้นไป ...
  • สายตาสั้นเกิดจากอะไร

    วารสารคลินิก 285 กันยายน 2551
    สายตาสั้นเกิดจากอะไรQ อยากเรียนถามว่าสายตาสั้นเกิดจากอะไร การใช้สายตามากๆทำให้สายตาสั้นหรือไม่ และการใส่แว่นจะป้องกันไม่ให้สายตาสั้นมากขึ้นได้จริงหรือไม่.นพวุฒิ ตรีพรชัยศักดิ์A ปัจจัยที่มีผลกำหนดให้มนุษย์เรามีสายตาปกติ สายตาสั้น ยาว หรือเอียง เกิดจากความสมดุลระหว่างความโค้งของกระจกตาดำ เลนส์ตา และความยาวของลูกตา. ...
  • ฝ้า...รักษาหายขาดหรือไม่

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 352 สิงหาคม 2551
    ถาม : สดศรี/กรุงเทพฯดิฉันทำงานโรงงานอุตสาหกรรม ขณะนี้ประสบปัญหาฝ้าบนใบหน้า เพื่อนแนะนำวิธีการรักษาหลายอย่าง แต่ก็ไม่หายขาดสักทีช่วงเวลาที่เป็นฝ้ามากๆ อายคนไม่อยากออกไปไหนเลย ต้องการทราบว่า ฝ้ารักษาให้หายขาดได้หรือไม่ และต้องปฏิบัติตัวอย่างไรตอบ : นพ.ประวิตร พิศาลบุตรฝ้าเป็นโรคผิวหนังที่ไม่มีอันตรายต่อร่างกาย แต่มีผลเสียต่อจิตใจ พบว่าหญิงไทยวิตกกังวลปัญหาฝ้ากันมาก ผู้ที่เป็นฝ้าส่วนใหญ่คือร้อยละ ...
  • «
  • ‹
  • 1
  • 2
  • 3
  • 4
  • 5
  • 6
  • 7
  • 8
  • 9
  • …
  • ›
  • »
Skip to Top

คำถามสุขภาพ

  • ทั้งหมด
  • การแพทย์ทางเลือก
    • แพทย์แผนไทย
      • กดจุด
      • นวดไทย
    • แพทย์แผนจีน
  • ดูแลสุขภาพ
    • การดูแลผู้สูงอายุ
    • การปฐมพยาบาล
    • การรักษาเบื้องต้น
    • การใช้ยาสมุนไพร
    • คู่มือดูแลสุขภาพ
    • ยาและวิธีใช้
    • ตรวจสุขภาพด้วยตัวเอง
      • คำนวณค่า BMI
      • วินิจฉัยโรคเบื้องต้น
      • แนะนำการตรวจสุขภาพประจำปี
    • คุยสุขภาพ
      • กรณีศึกษา
      • ถามตอบปัญหาสุขภาพ
  • สุขภาพทางเพศและครอบครัว
    • การดูแลบุตร
    • แม่และเด็ก
    • การตั้งครรภ์
    • เรียนรู้เรื่องเพศและการวางแผนครอบครัว
  • สร้างเสริมสุขภาพ 3 อ. และป้องกันโรค
    • อาหาร
      • อาหาร 5 หมู่
      • อาหารของผู้่ป่วยโรคเรื้อรัง
        • ความดันสูง
        • หัวใจ
        • เกาต์
        • เบาหวาน
      • อาหารที่ควรหลีกเลี่ยง
      • อาหารป้องกันมะเร็ง
      • อาหารสมุนไพร
    • ออกกำลังกาย
      • วิ่ง เดิน ปั่นจักรยาน ว่ายน้ำ แอร์โรบิค แอร์โรบอคซิ่ง รำกระบอง ไทเก็ก ชี่กง โยคะ
    • อารมณ์
      • การทำสมาธิ
      • การพักผ่อน
      • การพัฒนา EQ
      • จิตอาสา/ ฉือจี้
  • พฤติกรรมอันตราย
    • พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ
    • อนามัยสิ่งแวดล้อม
    • อิริยาบถ
  • โรคและอาการ
    • โรคเรื้อรัง
      • กลุ่มอาการเมตาโบลิค
      • ความดันโลหิตสูง
      • ถุงลมปอดโป่งพอง
      • มะเร็ง
      • อัมพฤกษ์ อัมพาต
      • เบาหวาน
      • โรคข้อ/เกาต์
      • โรคทางจิตเวช เครียด หวาดระแวง
      • โรคหวัด ภูมิแพ้
      • โรคหัวใจ
      • โรคหืด
      • ไขมันในเลือดสูง/ผิดปกติ
      • ไตวาย
    • โรคตามระบบ
      • ระบบทางเดินอาหาร
      • โรคจากอุบัติเหตุ สารพิษ และสัตว์พิษ
      • โรคช่องปากและฟัน
      • โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
      • โรคติดเชื้อ
      • โรคผิวหนัง
      • โรคพยาธิ
      • โรคระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
      • โรคระบบต่อมไร้ท่อ
      • โรคระบบทางอวัยวะเพศชาย
      • โรคระบบทางอวัยวะเพศหญิง
      • โรคระบบทางเดินปัสสาวะ
      • โรคระบบทางเดินหายใจ
      • โรคระบบประสาทและสมอง
      • โรคระบบไหลเวียนโลหิต
      • โรคหู ตา คอ จมูก
    • โรคจากการทำงาน
      • พิษภัยจากสารเคมี (ยาฆ่าเมลง/ สารตะกั่ว)
      • โรคจากฝุ่นและสารเคมีในโรงงาน
      • โรคจากสัตว์ เช่น ฉี่หนู
      • โรคจากอริยาบทที่ผิดสุขลักษณะ
      • โรคเส้นเอ็นอักเสบ/ นิ้วล็อค
  • อื่น ๆ

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa