-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
213
มกราคม 2540
การเมืองกับการปฏิรูประบบดูแลสุขภาพกว่าหมอชาวบ้านฉบับธันวาคม2539 จะออก จากผลการเลือกตั้งเมื่อ17 พฤศจิกายน เราก็คงจะมีรัฐบาลใหม่และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขคนใหม่แล้ว พูดถึงรัฐมนตรีสาธารณสุขนี้ผีเข้าผีออก บางคนก็เป็นคนดีมาก บางคนก็แย่จริงๆ ไม่มีเสียดีกว่า เพราะมีแล้วกลับเป็นภาระแก่ระบบสาธารณสุข คือแทนที่จะเป็นรัฐมนตรีเพื่อการสาธารณสุข (Minister for health) ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
212
ธันวาคม 2539
ทรงพระเจริญหมอชาวบ้านฉบับนี้ตรงกับวันเฉลิมพระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช และเป็นปีที่ทรงครองราชย์ปีที่ ๕o คณะผู้จัดทำนิตยสารหมอชาวบ้านขอถวายพระพร ทรงพระเจริญและมีพระชนมายุยิ่งยืนนานการที่มีพระมหากษัตริย์ที่ทรงตั้งอยู่ในความดีทำให้เกิดความเป็นศรีแก่บ้านเมือง เป็นขวัญและกำลังใจแก่ประชาชน ผู้ปกครองที่ไร้ความดี ไม่ว่าจะในระดับใดย่อมเป็นเสนียดและวินาศพระเจ้าอยู่หัวฯ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
211
พฤศจิกายน 2539
การเมืองเรื่องของชาวบ้านเผลอแผล็บเดียว เดือนนี้เรามีการเลือกตั้งทั่วประเทศอีกแล้ว มานที่ติดตามข่าวคราวของบ้านเมืองก็จะทราบว่าชาวบ้านเอือมนักการเมืองเต็มทีที่ต่อสู้แย่งกันเป็นใหญ่ ขาดความรู้ความสามารถ และขาดความสุจริต กินเวลาช้านานกว่าคนไทยจะเข้าใจว่า ระบบการเมืองไม่ดีทำให้ได้นักการเมืองไม่ดีเข้ามามาก จำเป็นต้องมีการปฏิรูป(ระบบ)การเมือง ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
210
ตุลาคม 2539
หมอวิทิต วัณนาวิบูล กับสุขภาพองค์รวมการแพทย์มีหลากหลายที่เรียกว่า การแพทย์พหุลักษณ์ การที่มีการแพทย์หลายๆลักษณะนั้นเป็นของดี เพราะไม่มีการแพทย์ระบบใดที่ใช้ได้ดีทุกเรื่อง ทุกครั้ง และสำหรับทุกคน เรื่องหนึ่งที่ตระหนักรู้กันมากขึ้นก็คือสุขภาพเป็นเรื่องของทั้งหมด ไม่ใช่เป็นเรื่องมดหมอหยูกยาเท่านั้น แต่เกี่ยวกับจิตใจ จิตวิญญาณ สังคม สิ่งแวดล้อม อาหาร การออกกำลัง ธรรมชาติบำบัด ธรรมชาติโอสถ ฯลฯ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
209
กันยายน 2539
การเมืองกับสุขภาพคนโดยทั่วไปมักจะคิดแบบแยกส่วนตายตัว เช่น การเมืองเป็นเรื่องของการเมือง สุขภาพก็เป็นเรื่องของสุขภาพ ไม่มีอะไรเกี่ยวข้องกัน หรือคิดว่าความยากจนกับการเมืองไม่เกี่ยวข้องกันสรรพสิ่งล้วนเกี่ยวข้องกันไม่มีอะไรไม่เกี่ยวข้องกัน จักรวาลทั้งจักรวาล โลกทั้งโลก มนุษย์ สังคม สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ การเมือง และสุขภาพ เกี่ยวข้องกันสุขภาพหมายถึง สุขภาวะทั้งทางกาย ทางจิต และทางสังคมอย่างเช่น ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
208
สิงหาคม 2539
การแพทย์ฉุกเฉินแม้จะมีโรคในชื่อเป็นพันๆชื่อ แต่ปัญหาทางการแพทย์แบ่งได้เป็น ๒ ประเภทใหญ่ๆ คือ๑.ปัญหาฉุกเฉิน ๒.ปัญหาไม่ฉุกเฉินปัญหาทั้ง ๒ ประเภท มีหลักการดูแลที่แตกต่างกันโดยสิ้นเชิง สำหรับปัญหาไม่ฉุกเฉินนั้น มีทางเลือกหลายทาง เช่น ปล่อยไว้ให้หายเอง ลองรักษาดูตามการวินิจฉัยขั้นต้น หรือวิเคราะห์ให้ละเอียดว่าเป็นอะไรแน่ส่วนปัญหาฉุกเฉินนั้นเป็นความเป็นความตายเฉพาะหน้า ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
207
กรกฎาคม 2539
ประชาสังคมกับสุขภาพเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ที่ผ่านมาในการจัดประชุมวิชาการประจำปีของ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข นายแพทย์สุวิทย์ วิบุลผลประเสริฐ ได้ประสานงานให้มีการเตรียมเอกสาร และมีการนำเสนอเรื่อง “ประชาสังคมกับสุขภาพ” นายแพทย์ชูชัย ศุภวงศ์ เป็นผู้นำเสนอบทความ ส่วนเอกสารนั้นมี2 เล่ม ทั้งจากการสัมภาษณ์ และที่เป็นบทความ ผู้ใดสนใจอาจติดต่อได้ที่สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
206
มิถุนายน 2539
สุขภาพคือบรมธรรม“สุขภาพคือบรมธรรม” อาจจะฟังดูแปลก เราลองค่อยๆคุยกันดูโดยตั้งคำถามว่า อะไรคือธรรมะสูงสุดหรือบรมธรรมคำตอบก็อาจจะมีต่างๆกันชาวพุทธอาจจะตอบว่าคือ “นิพพาน”ผมขอตอบว่าคือ “การดำรงอยู่ร่วมกันอย่างได้ดุลยภาพระหว่างมนุษย์กับมนุษย์ และระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติแวดล้อม”ลองคิดดูให้นานๆเถิดครับ ถ้าบรมธรรมไม่ใช่สิ่งที่กล่าวข้างต้น มนุษย์จะเข้าไปสู่ความขัดแย้ง ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
205
พฤษภาคม 2539
วัฒนธรรมกับสุขภาพอาหารไทยในวันที่27 พฤษภาคม2539 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จะทรงเปิดการประชุมนานาชาติเรื่อง “วัฒนธรรมกับสุขภาพ” ที่จังหวัดเชียงราย การประชุมนี้จัดโดยสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ สนับสนุนโดยองค์การ UNESCO และองค์การอนามัยโลก จะมีผู้เข้าร่วมประชุมจากหลายประเทศการแพทย์แผนปัจจุบันมีฐานอยู่ในวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซึ่งก็มีข้อดีหลายอย่าง ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
204
เมษายน 2539
มหกรรมเกษตรอาหารปลอดสารพิษ 5-7 เมษายน 2539เครือข่ายเกษตรกรรมทางเลือก ซึ่งเคยจัดสมัชชาเกษตรทางเลือกเมื่อปี 2535 กำลังจะจัดการประชุมใหญ่เป็นครั้งที่ 2 ที่ศูนย์วัฒนธรรมแห่งชาติในวันที่ 5-7 เมษายน 2539 ข้อใหญ่ใจความของเรื่องนี้ก็คือ ถ้าคนเราในเมืองกินอาหารปลอดสารพิษ นอกจากชีวิตจะปลอดภัยแล้วจะช่วยถักทอธรรมชาติ คือป่าไม้ ต้นน้ำลำธาร ...