-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
174
ตุลาคม 2536
เจ เข้าสู่เทศกาลล้างกายและใจในช่วงราวเดือนตุลาคมของทุกๆ ปี ซึ่งปีนี้ตกประมาณกลางเดือน ถือเป็นวาระ “เทศกาลถือศีลเจ” หรือที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า “เทศกาลกินเจ” ได้เวียนมาเยือนอีกครั้ง ตามตึ้งหรือโรงเจของคนจีน ซึ่งมักอยู่ในย่าน “ไชน่าทาวน์” ก็เริ่มคลาคล่ำไปด้วยผู้คนทั้งจีนและไทย ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
173
กันยายน 2536
ตรวจร่างกาย ก่อนแต่งงานการแต่งงานหรือการมีชีวิตคู่นั้นเป็นเรื่องที่ละเอียดอ่อนและสำคัญต่อชีวิตของคู่หญิง-ชายมากนัก เนื่องเพราะก่อนแต่งงานต่างฝ่ายต่างเคยใช้ชีวิตตามวิถีที่ตนพอใจมาโดยตลอด แต่ครั้นเมื่อต้องมาใช้ชีวิตคู่ ความแตกต่างในชาติกำเนิด เศรษฐกิจ วัฒนธรรมของแต่ละครอบครัว อุปนิสัยส่วนตัว พันธุกรรม โรคภัยไข้เจ็บประจำตัว และอื่นๆ จึงถือเป็นเรื่องที่ต้องทำความเข้าใจกันให้ได้ก่อนแต่งงาน ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
172
สิงหาคม 2536
สิทธิของผู้ป่วย (patient’s rights)ความหมายของคำว่า “สิทธิ” และ “ผู้ป่วย”พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525 ให้ความหมายของ “สิทธิ” ว่า “อำนาจอันชอบธรรม ความสำเร็จ” แต่ในความหมายที่เราใช้กันอยู่ทั่วไป “สิทธิ” หมายถึง “สิ่งพึงมีพึงได้” ตามธรรมชาติ ตามกฎหมาย ตามขนบธรรมเนียมประเพณี หรืออื่นๆสิทธิมนุษย์ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
170
กรกฎาคม 2536
ลดความอ้วนอย่างไร ปลอดภัย ไม่เสียเงินมนุษย์ทุกคนบนโลกนี้ ต่างเกิดมาก็อยากมีร่างกายที่สมบูรณ์ แข็งแรงเพียบพร้อมไปทุกอย่าง และที่สำคัญต้องปราศจากโรคภัยไข้เจ็บโรคอย่างหนึ่งที่ทั้งหญิงและชายในปัจจุบันไม่อยากพบพาน นั่นคือ “โรคอ้วน” ยิ่งสังคมไทยในปัจจุบันนี้ ต่างคนก็มีแต่ความเร่งรีบในด้านธุรกิจการงาน คนผอมย่อมได้เปรียบคนอ้วนในเรื่องของความสะดวกรวดเร็ว ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
171
กรกฎาคม 2536
ปวดท้อง“พ่อเคยปวดท้องมั้ยฮะ” “เคยสิ แต่ไม่ใช่ปวดธรรมดา มันถึงขนาดต้องส่งไปโรงพยาบาลเลยเชียวละ” เด็กชายยกมือกุมท้องตัวเองพร้อมกับถามต่อว่า“แล้วพ่อรู้ได้ยังไงว่าปวดแบบไหนต้องไปหาหมอ” "ก็คราวที่พ่อต้องเข้าโรงพยาบาลไงล่ะ หมอได้อธิบายให้พ่อฟังคร่าวๆ แล้วแจกโปสเตอร์บอกบริเวณหน้าท้อง9 ตำแหน่งที่มักจะปวดท้อง ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
169
พฤษภาคม 2536
เข็มขัดนิรภัย อุปกรณ์เพื่อความปลอดภัย “จะบีบหาสวรรค์วิมานอะไร...” สมชายรู้สึกสุดจะทนกับเสียงบีบแตรของบรรดาขบวนรถที่เข้าแถวยาวเหยียดยิ่งกว่าขบวนแห่ขันหมากบ่าวผู้มั่นคั่ง ความเย็นของแอร์ในรถรู้สึกจะไปมีผลทำให้ปริมาณเหงื่อของเขาลดลงเลยแม้สักหยด ความรุ่มร้อนในใจยิ่งทำให้ของรู้สึกเหมือนอยู่ในเตาอบดี ๆ นี่เอง “พ่อเย็นนี้อย่าลืมกลับบ้านให้เร็ว ๆ นะ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
168
เมษายน 2536
น้ำเน่าของวันนี้... หน้าที่ของเรา“ปี’35 เป็นปีสุดท้ายของความสามารถในการผลิตน้ำให้พอเพียงต่อความต้องการใช้น้ำ ตั้งแต่ปี 2536 เป็นต้นไป ปริมาณน้ำที่ผลิตได้จะไม่พอเพียงกับการใช้ ทั้งนี้เพราะจำนวนคนใช้เพิ่มขึ้น แต่แหล่งน้ำจืดที่จะนำมาใช้ทำน้ำประปาจะเริ่มน้อยลง” (ดร.เกษมสันติ์ สุวรรณรัต ผู้อำนวยการกองนโยบายและแผนรวม สำนักนโยบายและแผน ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
167
มีนาคม 2536
เลี้ยงลูกวัยรุ่นอย่างไรไม่ให้วุ่น“...โอ๊ย! นี่พวกเธอรู้มั้ย พ่อเอกลูกชายชั้นนี่แกร้ายขนาดไหน แกเห็นเพื่อนๆเขามีมอเตอร์ไซค์ ก็อยากจะมีกับเขาบ้าง มานั่งอ้อนวอนขอให้ชั้นซื้อให้ ไอ้เรารึก็เป็นห่วงกลัวว่าจะไปคว่ำไปหงายเกิดอุบัติเหตุต้องพิกลพิการเลยไม่ตกลง แกก็ประท้วงด้วยการไม่ยอมไปเรียน ชั้นล่ะกลุ้มใจจริงจริ๊งนะเธอ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
166
กุมภาพันธ์ 2536
ความดันโลหิตสูงในเดือนกุมภาพันธ์ของทุกๆปี ทั่วโลกได้กำหนดให้มีวันสำคัญสำหรับหนุ่มสาวขึ้นมาวันหนึ่ง นั่นคือ วันแห่งความรัก (Valentine’s day) โดยให้ถือเอาวันที่ 14 ของเดือนเป็นวันพิเศษสำหรับวาระนี้ เคยลองถามคนข้างเคียงแถวนี้ดูว่าใครเคยมีความรักบ้าง ก็ยกมือยอมรับกันให้พรึ่บพรั่บไปหมด จึงหยอดคำถามข้อต่อไปว่า เวลาที่มีโอกาสได้พบคนรักครั้งแรกๆ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
165
มกราคม 2536
อาหารปลอดสารพิษ...ทางเลือกใหม่เพื่อสุขภาพที่ดีกว่า“พลังของผู้บริโภค เป็นพลังอันศักดิ์สิทธิ์ที่กำหนดกลไกการตลาดได้” ประโยคข้างต้นเมื่อหลายปีก่อน หลายคนยังไม่แน่ใจ แต่ปัจจุบันมีคนจำนวนไม่น้อยเริ่มรู้สึกว่าภารกิจนี้เป็นหน้าที่ที่เราทุกคนจะต้องเริ่มปฏิบัติการในอันที่จะปกป้องคุ้มครองสวัสดิภาพตนเอง และเพื่อนร่วมโลกคนอื่นๆ ที่ต้องอยู่ในสภาพ ”หมดทางเลือก” อยู่ร่ำไป เพื่อพบกับ ...