-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
224
ธันวาคม 2540
อาหารเสริมหรือเสริมอาหาร จะเอาอะไรกันแน่“สวัสดีครับ (ค่ะ) ผม (ดิฉัน) เป็นสมาชิกหมอชาวบ้านมานานมีเรื่องอยากขอปรึกษาหน่อยครับ (ค่ะ) คือเพื่อนแนะนำให้กินอาหารเสริม เขาบอกว่าเขาก็กินอยู่ กินแล้วรู้สึกดีจัง มาแนะนำต่อ แต่ผม (ดิฉัน) ยังไม่แน่ใจ และอาหารเสริมเหล่านี้มีราคาแพงมาก ไม่ทราบว่าจะกินดีมั้ย?”หมอชาวบ้านมักจะได้รับคำถามในทำนองนี้ทางโทรศัพท์และจดหมายอยู่เสมอเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
223
พฤศจิกายน 2540
วัคซีนใหม่ จำเป็นต้องใช้หรือไม่ปัจจุบันเวลาคุณไปคลอดบุตรตามโรงพยาบาล สิ่งหนึ่งที่หมอจะบอกก่อน คุณจะออกจากโรงพยาบาล คือ ให้พาลูกมาฉีดวัคซีนตามกำหนดด้วยวัคซีน (vaccine) เป็นยาชนิดหนึ่ง ซึ่งประกอบด้วยเชื้อโรคที่ตายแล้ว หรือถูกทำให้มีฤทธิ์อ่อนลงจนไม่เป็นอันตราย ใช้สำหรับฉีดหรือกินเพื่อกระตุ้นให้ร่างกาย สร้างภูมิคุ้มกันโรคนั้นๆ ขึ้น วัคซีนใหม่นี้มีความสำคัญอย่างไร จำเป็นต้องพาลูกมาฉีดวัคซีนมั้ย ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
221
กันยายน 2540
แคลเซียม ธาตุสำคัญในกระดูก“นี่เธอ อายุเข้าวัยหมดประจำเดือนแล้วระวังกระดูกพรุนนะ”“อาหารที่กินไม่รู้มีแคลเซียมพอหรือเปล่า เขาพูดกันจัง”"เห็นโฆษณาว่า ผลิตภัณฑ์เขามีแคลเซียมช่วยป้องกันกระดูกพรุน จะกินดีหรือไม่นะ”“นี่ฉันจะประสาทกินอยู่แล้ว เดี๋ยวก็ว่าจะขาดสารอาหารนี้สารอาหารโน้น ชักเลอะกันใหญ่”"ใครก็ไม่รู้ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
219
กรกฎาคม 2540
ฮอร์โมนเพิ่มความสูงมีจริงหรือปัจจุบันคนส่วนใหญ่มีค่านิยมเรื่องความสูง คือ สูงดีกว่าเตี้ย ส่วนมากต้องการให้ลูกชายสูงขึ้นประมาณ ๖ ฟุต หรือ ๑๘๐ เซนติเมตร โดยเปรียบเทียบกับพระเอกในภาพยนตร์ซึ่งส่วนใหญ่เห็นว่าสูงแล้วดูสง่างามมีอำนาจ และมีลักษณะผู้นำส่วนลูกสาวควรสูงประมาณ ๑๗๐ เซนติเมตรขึ้นไป ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
218
มิถุนายน 2540
สุขภาพในยุคโลกาภิวัตน์สุขภาพ หรือสุขภาวะ ในความหมายขององค์การอนามัยโลก คือ ภาวะแห่งความสุขหรือสุขภาพทั้งทางร่างกาย จิตใจ และสังคม (physical, mental and social well being) พูดให้เข้าใจง่าย คือ “ร่างกายแข็งแรง จิตใจแจ่มใส และอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข”ในยุคโลกาภิวัตน์ ที่โลกแคบลงๆ จากการสื่อสารและการคมนาคมที่รวดเร็ว สุขภาพของประชาชนกลับเสื่อมลง โดยเฉพาะสุขภาพทางใจและสังคม ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
217
พฤษภาคม 2540
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับโคลนนิงก์“โคลนิงก์” คืออะไร“โคลนิงก์ (cloning)” เป็นศัพท์วิทยาศาสตร์ (อ่านว่า โคลน-นิ่ง) หมายถึง การทำให้เกิดสิ่งมีชีวิตที่มีองค์ประกอบทางพันธุกรรมเหมือนกันจะเรียกว่า “การคัดลอก” หรือ “การถอดแบบ” พันธุกรรม ก็ได้โคลนิงก์ที่เกิดตามธรรมชาติมีหรือไม่แฝดไข่ใบเดียวกันเป็นตัวอย่างหนึ่งของโคลนิงก์ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
214
มีนาคม 2540
ประวัติการเจ็บป่วยนั้นสำคัญไฉน?คุณคงเคย(หรือพาผู้ป่วย)ไปหาหมอหลังจากรักษาตนเอง หรือรักษากันเองเบื้องต้นแล้วไม่หาย และหมอได้ถามคำถามหลายอย่างเช่น“เป็นมานานเท่าไรแล้ว”“เป็นตลอดเวลาหรือพักๆ”“เกิดขึ้นทันทีหรือมีอาการอื่นอะไรก่อน”“มีอาการมากตอนเวลาไหน”“แต่ละครั้งมีอาการอยู่นานแค่ไหน”“อะไรทำให้เป็นมากขึ้น ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
215
มีนาคม 2540
15คำถาม ยาปฏิชีวนะที่กินผิดใช้ผิดกันเกลื่อนเมือง“ฮัดเช้ย...ฮัดเช้ย” สงสัยจะเป็นหวัดแล้วสิเรา ต้องซื้อยากินหน่อย จะได้หายเร็วๆ“คุณคะ ฉันเป็นหวัด ขอซื้อยาปฏิชีวนะแก้หวัดหน่อยค่ะ”“ทำไมคุณถึงรู้ว่าต้องกินยาปฏิชีวนะด้วยละครับ” เภสัชกรถาม“อ้าว ก็หวัดเกิดจากเชื้อโรคไม่ใช่หรือคะ แล้วยาปฏิชีวนะก็เป็นยาฆ่าเชื้อ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
213
มกราคม 2540
หัดเยอรมันพอเข้าหน้าหนาวทีไร เด็กๆมักออกหัดไปตามๆกัน บางคนเป็นแล้วก็เป็นอีก หัดมีทั้งหัดแท้และหัดเยอรมัน ผู้ที่เป็นหัดเยอรมัน ตามตัว แขน ขา มีเม็ดแดงขนาดเท่าหัวเข็มหมุดขึ้นติดกันยิบ แต่ไม่คัน ตาแดงเล็กน้อย ไม่ไอ ไม่มีผื่นในปาก ที่สำคัญคือต่อมน้ำเหลืองที่หลังหู คอ และท้ายทอยจะโตขนาดตั้งแต่เม็ดถั่วเขียวถึงถั่วลิสง เจ็บเล็กน้อย ส่วนหัดแท้จะมีอาการตาแดงจัดกว่า มีไอและเป็นไข้4-5 วัน ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
212
ธันวาคม 2539
10 คำถามของผู้สูงอายุท่านคงได้อ่านบทความพิเศษเรื่องผู้สูงอายุใน “นิตยสารหมอชาวบ้าน” ฉบับเดือนตุลาคมที่ผ่านมาแล้ว และเปิดโอกาสให้ท่านผู้อ่านช่วยกันแนะนำหรือแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับผู้สูงอายุให้กว้างขวางยิ่งขึ้นผมเองก็จะพยายามเขียนถึงผู้สูงอายุต่อไปเท่าที่ความรู้ความสามารถอันจำกัดของผมจะทำได้ เพื่อวัตถุประสงค์ให้ผู้สูงอายุในเมืองไทยได้ดำรงชีวิตอยู่อย่างมีความหมายมากขึ้น ...