-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
321
มกราคม 2549
ในปัจจุบันโรคหัวใจขาดเลือดเป็นสาเหตุของการตายอันดับต้นๆ ของคนไทย ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญคือ ภาวะไขมันในเลือดสูง ความดันเลือดสูง และการสูบบุหรี่ ซึ่งทั้งหมดเป็นปัจจัยที่สามารถควบคุมได้ โคเลสเตอรอล (cholesterol) เป็นไขมันชนิดหนึ่งที่ร่างกายใช้สร้างเป็นเยื่อบุเซลล์ สร้างเป็นฉนวนหุ้มเส้นประสาท สร้างฮอร์โมนต่างๆ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
320
ธันวาคม 2548
อัมพฤกษ์ อัมพาต มหันตภัย ใกล้ตัวที่ทุกคนไม่ควรประมาท เพราะอาจจะมาเยือนเมื่อไหร่ เวลาใด โดยไม่ทันระวังหรือป้องกัน หากรักษาไม่ทันหรือรักษาไม่ถูกต้องทันท่วงที อาจจะทำให้พิการหรือเสียชีวิตได้อัมพฤกษ์ อัมพาต เป็นอาการที่เกิดจากกล้ามเนื้ออ่อนแรง หลอดเลือดในสมองตีบ ตันหรือแตก ส่งผลให้เนื้อสมอง ซึ่งทนต่อภาวะขาดเลือดได้น้อย เกิดพยาธิสภาพขึ้น ความรุนแรงขึ้นอยู่กับตำแหน่งของสมอง และขนาดของพยาธิสภาพนั้น ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
320
ธันวาคม 2548
น้ำแร่ เป็นที่รู้จักกันมานานแล้วสำหรับคนไทยในแง่ของน้ำศักดิ์สิทธิ์เพื่อใช้ในพิธีกรรมตลอดจนการนำมาอาบแช่รักษาโรคต่างๆกระแสของการนำน้ำแร่มาบริโภคเพิ่งเป็นที่นิยมในช่วงระยะเวลาสิบกว่าปีนี้เอง โดยการนำเข้าน้ำแร่จากต่างประเทศซึ่งมีราคาค่อนข้างแพง ต่อมามีการผลิตได้ภายในประเทศ ทำให้น้ำแร่เพื่อบริโภคมีราคาที่ถูกลงใกล้เคียงกับน้ำดื่มบรรจุขวดทั่วไปน้ำแร่ธรรมชาติ (natural mineral water) หมายถึง ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
319
พฤศจิกายน 2548
เนื่องในเดือนแห่งการรณรงค์ลดความรุนแรงแก่บุคคลในครอบครัว ในฐานะที่เป็นจิตแพทย์ ใคร่ขอเชิญชวนท่านผู้อ่านได้หันมาให้ความสำคัญกับคนในครอบครัว เพื่อหลีกห่างจากความรุนแรงในครอบครัว และทำการสร้างภูมิคุ้มกันแก่สมาชิกในครอบครัว โดยแนวทางนี้จะก่อให้เกิดครอบครัวอบอุ่นครอบครัวอบอุ่น คือครอบครัวที่สมบูรณ์แบบ การ มีครอบครัวที่อบอุ่นทำให้เราดำเนินชีวิตได้อย่างปกติสุข ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
317
กันยายน 2548
ศิลปะกับการพัฒนาสมองมนุษย์เรารู้กันมานานแล้วว่าศิลปะคือสิ่งจรรโลงจิตใจมนุษย์ช่วยให้มนุษย์มีจิตใจที่อ่อนโยน สงบ และไม่หยาบกระด้าง เราใช้ศิลปะบางแขนงช่วยในการเยียวยาความเจ็บป่วยของมนุษย์ ไม่ว่าจะเป็นการเจ็บป่วยทางร่างกายหรือจิตใจ นี่คือคุณประโยชน์ของศิลปะที่เรารับรู้ แต่ก็ยังไม่มีใครบอกได้ว่า ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
317
กันยายน 2548
ปลาร้าเจปลาร้าเป็นอาหารประจำถิ่นของคนไทยและประเทศต่างๆ ในภูมิภาคนี้ที่หาปลากินตามแม่น้ำ ลำคลอง ในฤดูกาลที่หาปลาได้มากก็หาวิธีถนอมไว้กินในยามขาดแคลน ซึ่งปลาร้าเป็นรูปแบบหนึ่งที่นิยมมาก โดยเฉพาะทางภาคอีสานและภาคเหนือของไทย ปลาร้าเป็นเครื่องปรุงที่มีติดบ้านทุกครัวเรือน อาหารแทบทุกอย่างปรุงแต่งรสด้วยปลาร้า และเมนูยอดฮิตที่รู้จักกันรวมทั้งคนกรุงเทพฯ คือ ส้มตำลาวใส่ปลาร้า ถ้าไม่ใส่ปลาร้าก็ไม่แซบ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
316
สิงหาคม 2548
สารต้านอนุมูลอิสระ จำเป็นต่อร่างกายอย่างไร"อาหาร" จัดได้ว่าเป็นปัจจัยหนึ่งที่สำคัญโดยมีบทบาทในการป้องกันการเกิดโรคต่างๆ เหล่านี้ ซึ่งผลการศึกษาจากงานวิจัยทางคลินิกและระบาดวิทยา (เป็นงานวิจัยที่เก็บข้อมูลจากคนจำนวนมากเพื่อหาความสัมพันธ์ของปัจจัยที่มีผลต่อกัน เช่น ปัจจัยเรื่องอาหารกับการเกิดโรคเบาหวาน เป็นต้น) ได้ยืนยันว่า การบริโภค ผัก ผลไม้ ธัญพืชที่ไม่ผ่านการขัดสีและพืชสมุนไพรต่างๆ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
316
สิงหาคม 2548
อัศจรรย์แห่งโพชฌงค์ ๗เมื่อครั้งที่พระพุทธองค์ทรงอาพาธ พระจุนทะแสดงโพชฌงค์ถวายก็ทรงหายประชวร สำหรับคนทั่วไป ยามเจ็บไข้ได้ป่วย โพชฌงค์ ๗ สามารถช่วยให้อาการทุเลาหรือหายได้หรือไม่ ผู้เขียนเป็นทั้งแพทย์และครูแพทย์ ได้ให้การดูแลรักษาผู้ป่วยมาเป็นเวลานานพอสมควร และได้เห็นความสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องของกาย-ใจ ทั้งในภาวะปกติและภาวะ เจ็บป่วย ตลอดจนเห็นความสำคัญของการดูแลประคับประคองใจผู้ป่วยเสมอมา ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
277
พฤษภาคม 2545
โรคภัยร้อนในช่วง ๔๐ ปีที่ผ่านมา สภาพอากาศในประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างมาก โดยเฉพาะอุณหภูมิที่มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆสาเหตุส่วนหนึ่งอาจสืบเนื่องมาจากปรากฏการณ์เอลนิโญที่ส่งผลกระทบไปทั่วโลก เช่นกับในปี พ.ศ. ๒๕๔๕ ที่คาดว่าจะเป็นอีกปีหนึ่งที่โลกต้องเผชิญกับปรากฏการณ์นี้รวมทั้งประเทศไทยที่หลีกเลี่ยงไม่ได้เช่นกันการเจ็บป่วยจากความร้อนการเผชิญกับสภาพอากาศร้อนสามารถก่อให้เกิดการเจ็บป่วยได้ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
276
เมษายน 2545
ไม่ได้มีแต่ผู้ใหญ่เท่านั้นที่ต้องเผชิญกับความร้ายกาจของโรคมะเร็งจากข้อมูลของหน่วยโลหิตวิทยาและมะเร็งในภาคเด็ก ภาควิชาเวชศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี บอกว่า เด็กๆ ในประเทศไทยราว 1,000 – 2,000 คนต่อปี จะต้องเจ็บป่วยด้วยโรคมะเร็งตั้งแต่เขายังสะกดคำว่าโรคไม่เป็นด้วยซ้ำโรคมะเร็งในเด็กประมาณร้อยละ 30 จะเป็นโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวหรือที่รู้จักกันในชื่อลิวคีเมีย ...