Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » คอลัมน์ » โยคะ

โยคะ

  • โยคะวิชาการ...สู่รั้วสถานศึกษา (๓)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 373 พฤษภาคม 2553
    เมื่อโยคะวิชาการเข้าไปประกาศตัวในระบบการศึกษา จะส่งผลอย่างไรต่อนิสิตนักศึกษาที่เป็นผู้เรียนโดยตรงจ๊ะเอ๋-วริษฐา ขอประเสริฐ และ กุ่ย-ปิยะชัย ฮึงวัฒนา นิสิตคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปี ๓ แม้จะไม่ใช่วิชาในคณะตนเองโดยตรง แต่มีความสนใจเรียนวิชาโยคะเป็นความรู้และอยากลอง(กุ่ย)ตอนแรกถามอาจารย์ว่าเรียนอะไร ...
  • โยคะสร้างสมาธิ ดูแลจิตและกาย

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 370 กุมภาพันธ์ 2553
    "ได้ละหมาดแค่ตอนเช้ามืด ก่อนออกจากบ้านมาทำงาน ส่วนรอบเที่ยงและบ่ายไม่มีโอกาสได้ทำ ตอนเย็นกลับบ้านไปจึงต้องทำชดเชย 2 ครั้งนั้นด้วย จะทำเป็นปล่อยผ่านไปเฉยๆ ไม่ได้ ปกติทำละหมาดแต่ละครั้งต้องนิ่ง มีสมาธิมากอยู่แล้ว แต่เมื่อต้องทำชดเชยย้อนหลังไปแบบนี้ยิ่งต้องใช้สมาธิมากขึ้นไปอีก ต้องรวบรวมจิตใจให้อยู่กับตรงนั้นให้ได้"พี่เล็ก หรือจุฑารัตน์ บินอุสมาน หัวหน้างานคดีและประกันชีวิต ...
  • โยคะอารมณ์ดี สไตล์ปู่พีระ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 369 มกราคม 2553
    ทำไป พักไป ฟังเพลงบ้าง หัวเราะบ้าง และอย่าลืม...ยิ้มในหน้า 'ยิ้มในหน้า' คำที่ปู่พีระ หรือคุณพีระ บุญจริง ...
  • โยคะธรรมะหรรษา 555

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 368 ธันวาคม 2552
    โยคะ ไม่ใช่ การออกกำลังกายโยคะ คือ การรวมกายและใจ (มีสติรู้ รู้ตัวตลอดเวลา รู้ทุกขณะ ไม่ว่าจะเคลื่อนไหวหรือหยุดนิ่งก็ตาม)การฝึกโยคะเพื่อให้ได้ประสิทธิภาพและประสิทธิผลที่ดีต้องเข้าใจหลักการของโยคะ ต้องมีทัศนคติที่ถูกต้อง เข้าใจถึงจุดประสงค์ที่แท้จริงที่ไม่ใช่เรื่องของท่าทาง แต่เป็นเรื่องของผลที่เกิดขึ้น คนส่วนใหญ่มักจะติดเรื่องท่าทาง ด้วยภาพที่เห็นจากการนำเสนอตามสื่อต่างๆ ...
  • เปลี่ยนวิถี ชีวิตดี...ด้วยโยคะ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 366 ตุลาคม 2552
    "สมัยเด็กๆ กินแต่พวกเนื้อ นม ไข่ ผักไม่กินเลย ไม่กินแม้กระทั่งแตงกวา หรือถั่วงอก แต่กินไข่ลวกวันละ 3 ฟอง กินเนื้อเยอะ และดื่มเหล้าจัด นอนดึก ชีวิตแย่มาก แต่พอมาเล่นโยคะพฤติกรรมหลายๆ อย่างเริ่มเปลี่ยนเอง เริ่มกินแบบนั้นน้อยลงจนเลิก ...
  • รู้ตัว รู้ใจ นอนหลับได้ หายใจเป็น

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 367 ตุลาคม 2552
    คุณอรพรรณ เกื้อสุวรรณ บรรณารักษ์วัย 57 ปี เคยไม่สบายต้องเข้าออกโรงพยาบาลบ่อยๆ ด้วยอาการวิงเวียนศีรษะและอาเจียน แต่หลังจากได้ออกกำลังกายและฝึกโยคะเป็นประจำจึงทำให้อาการดีขึ้น จนไม่ต้องรบกวนโรงพยาบาลอีกเลยสัญญาณเตือนก่อนหน้านี้สุขภาพแย่มาก อาการเริ่มต้นที่เป็นสัญญาณเตือนคือ เวียนศีรษะ รู้สึกอยากนอนตลอดเวลา ขับรถไม่ได้ เหลียวซ้ายแลขวาไม่ได้ จอดรถเสร็จก็ฟุบอยู่ตรงนั้น ...
  • โยคะ...ไม่ยากอย่างที่คิด

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 365 กันยายน 2552
    โยคะ...ไม่ยากอย่างที่คิดหมายความอย่างนั้นจริงๆ โยคะ ไม่ได้ยากอย่างที่หลายๆ คนคิด นอกจากทำได้ไม่ยากแล้ว ยังให้ความสนุก สบายและสงบด้วย... ดร.ประพนธ์ ผาสุขยืด เป็นหนึ่งเสียงที่กล้ายืนยันเช่นนั้น ด้วยตำแหน่งผู้อำนวยการสถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม (สคส.) และเจ้าของงานเขียนเกี่ยวกับการจัดการความรู้และการพัฒนาตน วันนี้ ...
  • วิถีชีวิตคือการถักทอจิตอย่างต่อเนื่องไปจนถึงที่สุด

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 362 มิถุนายน 2552
    เราได้คุยกันถึงองค์ประกอบของวิถีโยคะ อันประกอบด้วย ก) เป้าหมายในการพัฒนาจิตที่ชัดเจน ข) การตระหนักถึงจุดตั้งต้นที่เราแต่ละคนกำลังยืนอยู่ และ ค) การเดินไปตามทาง ด้วยความเพียร เราได้คุยกันถึงความสำคัญของยามเช้า ซึ่งนอกจากจะเป็นอรุณของวันใหม่แล้ว ยังเป็นรุ่งแรกของวิถีโยคะด้วย คราวนี้เรามาพิจารณามรรคาแห่งโยคะกันดังที่ได้กล่าวมาโดยตลอด ผู้เขียนชักชวนให้ผู้สนใจโยคะจริงจัง ศึกษาโยคะในเชิงวิชาการ ...
  • วิถีชีวิตแห่งโยคะยามเช้า (ตอนที่ 3)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 359 มีนาคม 2552
    ฉบับที่ผ่านมา เราได้คุยกันไปว่าก่อนจะเริ่มเดินบนวิถีแห่งโยคะ วิถีสู่ความสมดุลของสุขภาพ จะต้องทบทวนองค์ประกอบ 4 ประการ 1. เป้าหมายสูงสุดที่เราจะไปให้ถึง 3. จุดเริ่มต้นของตัวเราเอง ศักยภาพ จริตของเรา ณ ขณะนี้ 3. แนวทางเดินที่เราได้พิจารณา เลือกแล้วว่าน่าจะเป็นแนวนี้ และ 4. ความเพียร ทั้งวินัย และการหมั่นทบทวนการเดินทางของเราเป็นระยะๆ คราวนี้ เราเข้าเรื่องวิถีฯ กันมาเริ่มกันตั้งแต่ตื่นนอนเลย ...
  • วิถีชีวิตแห่งโยคะ (ตอนที่ 2)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 358 กุมภาพันธ์ 2552
    มนุษย์ทุกคนล้วนเดินทางไปสู่ความสุข คนส่วนใหญ่อยู่ในโลกแห่งวัตถุ ก็จะแสวงหาความสุขที่อิงกับวัตถุ ไม่ว่าจะเป็นทรัพย์สิน เงินทอง ลาภยศ คำสรรเสริญ โดยมีคนส่วนน้อยที่ไม่ได้ใส่ใจกับวัตถุ ก็จะแสวงหาความสุขที่ละเอียด เป็นความสุขที่ไม่อิงวัตถุ ความสุขที่มีอยู่ภายในตนเอง ซึ่งไม่ว่าเรากำลังสนใจความสุขระดับไหน เมื่อพัฒนายิ่งๆ ขึ้นไป ความสุขของเราก็จะละเอียดลงๆฉบับที่แล้วเราพูดถึงเป้าหมายสุดท้ายของโยคี ...
  • 1
  • 2
  • 3
  • 4
  • 5
  • 6
  • 7
  • 8
  • 9
  • …
  • ›
  • »
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • 108 ปัญหายา
  • Guideline
  • กฎหมายการแพทย์น่ารู้
  • กดจุดเพื่อสุขภาพ
  • กรมควบคุมโรค
  • กลไกการเกิดโรค
  • กว่าจะเป็นแม่
  • กันไว้ดีกว่าแก้
  • การรักษาขั้นต้น
  • การรักษาพื้นบ้าน
  • การแพทย์ตะวันออก
  • การใช้ยา พอเพียง
  • การ์ตูน "กินสร้างสุข"
  • กินถูก...ถูก
  • กีฬาบำบัด
  •  
  • 1 จาก 14
  • ››

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa