-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
308
ธันวาคม 2547
ตาตระกะเป็นเทคนิคการฝึกโยคะชนิดหนึ่ง ซึ่งจัดอยู่ในหมวดของกริยาหรือการชำระล้าง กล่าวโดยคร่าวๆ เทคนิคนี้ คือการนั่งเพ่งดวงไฟของเทียนสัก ๑ นาที จนกระทั่งน้ำตาไหล ผลที่ได้รับในเชิงกายภาพ คือการกระตุ้นให้ต่อมน้ำตาทำงานได้เป็นปกติ เป็นการทำความสะอาด ชำระล้างท่อน้ำตา นอกจากนั้น ตาตระกะยังช่วยผ่อนคลายการทำงานของกล้ามเนื้อตา เนื่องเพราะในเวลาปกติที่เราใช้สายตามองสิ่งต่างๆ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
295
พฤศจิกายน 2547
ปราณยามะ 7 ความเชื่อ VS ข้อเท็จจริงเราได้พูดถึงรายละเอียดของปราณยามะมาพอสมควรแล้ว ฉบับนี้ เราลงตารางเปรียบเทียบ ระหว่าง ปราณยามะกับการหายใจทั่วไป เพื่อให้เราเข้าใจปราณยามะได้ดียิ่งขึ้นไปอีกเมื่อทำความเข้าใจกับหลักต่างๆในการฝึกปราณยามะแล้ว จะเห็นได้ว่า ปราณยามะไม่ใช่การเพิ่มออกซิเจนให้กับร่างกายอย่างที่หลายคนเข้าใจ ตรงกันข้ามเลย ปราณยามะเป็นการลดอากาศ เพื่อลดการหายใจ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
307
พฤศจิกายน 2547
โดยคำศัพท์ กริยา แปลว่า การกระทำ สำหรับโยคะ ตำราโยคะสูตรของปตัญชลี ได้กล่าวถึงคำว่า กริยาในความหมายของการปฏิบัติโยคะโดยรวม โดยระบุเอาไว้ในบทที่ 2 ประโยคที่ 1 ว่า กริยาโยคะ (หรือการปฏิบัติโยคะ) คือ การฝึกตบะ (ความอดทน), หมั่นศึกษาตำราดั้งเดิมและมีศรัทธา (หรือการขัดเกลาจิตใจให้มีความอ่อนน้อม ถ่อมตน)กว่า 1,800 ปี หลังจากโยคะสูตรของปตัญชลี ในราว พ.ศ. 1990 ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
294
ตุลาคม 2547
ปราณยามะ (6) ประโยชน์ของปราณยามะจากที่ได้คุยกันว่า ปราณยามะ ไม่ใช่การฝึกเพิ่มออกซิเจนให้กับร่างกาย แต่เป็นการทำให้หายใจช้าลง หายใจน้อยลง จึงอาจมีคนสงสัยว่า ถ้าไม่ใช่เพื่อออกซิเจน งั้นเราจะฝึกปราณยามะไปทำไม หรือเราได้ประโยชน์อะไรจากการฝึก ตำรา Pranyama เขียนโดย สวามีกุลวัลยนันท์ ของสถาบัน ไกวัลยธรรม อธิบายไว้ว่า ประโยชน์ทางด้านกายภาพที่ได้จากการฝึกควบคุมลมหายใจ คือ เพิ่มความยืดหยุ่นของปอด ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
306
ตุลาคม 2547
มรรควิถีของโยคะจากอดีตถึงปัจจุบันคอลัมน์โยคะ นิตยสารหมอชาวบ้าน ได้เริ่มมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2542 เราได้พูดกันถึงเทคนิคท่าโยคะอาสนะ เทคนิคปราณยามะ ได้มีการพูดถึงการประยุกต์เทคนิคโยคะเพื่อใช้ในการบำบัดรักษาโรค เป็นต้น สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นเรื่องที่คนทั่วไปรับทราบกัน เราจะมาลองดูเรื่องราวของโยคะที่ละเอียดลงไปอีก บ้างยังไม่เป็นที่รู้จัก หรือบ้างก็เป็นที่รับรู้จากศาสตร์สาขาอื่นๆ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
293
กันยายน 2547
ปราณยามะ 5เราได้อธิบายเรื่องพื้นฐานเกี่ยวกับลมหายใจกันมาหลายฉบับแล้ว ไม่ว่าจะเป็นกลไกการหายใจอัตโนมัติ การทำความรู้จักกับการหายใจด้วยทรวงอก (ใช้กล้ามเนื้อซี่โครงหายใจ) การหายใจด้วยหน้าท้อง (ใช้กล้ามเนื้อกะบังลมหายใจ) คราวนี้เรามาเข้าเรื่องปราณยามะกันเสียที ปราณ หมายถึง ลมหายใจ ยามะ หมายถึง การควบคุมดังนั้น ปราณยามะ หมายถึง ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
305
กันยายน 2547
โยคะ กับการกินอย่างสมดุล(มิตาหาระ)ปลายเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา ได้มีโอกาสไปสัมมนาที่นครนายกทางทีมผู้จัดก็ต้อนรับอย่างเต็มที่ โดยเฉพาะเรื่องอาหารการกินอาหารมื้อหลักครบ อาหารว่างคั่นตลอดทั้งวันมิหนำซ้ำ ยังแถมข้าวต้มรอบดึกอีกต่างหาก เรียกว่างานนี้มีแต่กินกับกินเลยทีเดียวมนุษย์เราต้องกินกันขนาดนี้เลยหรือ? เคยอ่านเจอในหนังสือธรรมะ พระท่านกล่าวว่า ความหิวเป็นทุกข์อย่างยิ่ง ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
304
สิงหาคม 2547
สองวันก่อนได้คุยกับเพื่อนครูโยคะ ซึ่งได้เล่าถึงเพื่อนคนหนึ่งที่ใช้ชีวิตอยู่ในสหรัฐอเมริกาให้ฟัง เพื่อนคนนั้นทำงานออฟฟิศ แกบอกว่าคนอเมริกันเป็นเพื่อนร่วมงานที่ดี วันจันทร์ถึงศุกร์จึงทำงานด้วยความสบายใจ แต่คนอเมริกันไม่ใช่เพื่อนที่สนิท ทำให้เสาร์-อาทิตย์เป็นวันที่ไม่มีความสุขเลย แต่พอบอกว่างั้นก็กลับเมืองไทยสิ แกก็ไม่อยากกลับเมืองไทย เพราะแม้คนไทยจะรู้ใจกัน มีความสุขในวันเสาร์-อาทิตย์ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
303
กรกฎาคม 2547
โยคะ กับการพัฒนาจิตไปสู่สภาวะสูงสุดมนุษย์ประกอบด้วยมิติต่างๆ ทางกาย ทางใจ และทางจริยธรรม ในแต่ละมิติก็ยังประกอบด้วยรายละเอียดปลีกย่อยมากมาย มิติทางใจอาจแบ่งออกเป็นเรื่องของอารมณ์ ความเฉลียวฉลาด เป็นต้น นอกจากนั้น มิติที่สำคัญทางใจอีกประการของมนุษย์คือ สภาวะจิตสูงสุด อันเป็นสภาวะทางอุดมคติ ที่มนุษย์ค่อยๆ พัฒนาไปสู่คำว่าสภาวะจิตสูงสุด โดยแค่ชื่อฟังดูเป็นของสูง ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
299
มีนาคม 2547
ความจำเป็นของการวิจัยโยคะ และการนำโยคะให้เป็นแบบแผนของการศึกษาโยคะเป็นศาสตร์ที่มีมาแต่โบราณอันเปี่ยมไปด้วยคุณค่า เกิดจากความพิถีพิถันในการเฝ้าสังเกต ศึกษาเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ของตนเอง สืบทอดอย่างเป็นระบบจากโยคีรุ่นหนึ่งตกทอดไปยังโยคีรุ่นถัดไปอย่างต่อเนื่องไม่ขาดสาย จากอดีตจนถึงปัจจุบัน โยคะคือศาสตร์แห่งชีวิตที่นำพามนุษย์ไปสู่ศักยภาพสูงสุด โยคะ คือ ศาสตร์แห่งการยกระดับความเป็นมนุษย์ ในทุกๆ ...