-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
273
มกราคม 2545
มีการศึกษาพบว่า ชาวเยอรมัน1 ใน 10 คน ฝึกโยคะนี่ไม่ได้หมายความว่าคนเหล่านั้นฝึกโยคะทุกวัน แต่หมายความว่าพวกเขาเคยฝึกโยคะคนฝึกโยคะเพราะเขารู้สึกไม่สบาย และรู้สึกบางอย่างขาดหายไป มันอาจเป็นปัญหาสุขภาพ หรืออาจเพราะพวกเขากำลังมองหาอะไรบางอย่าง แต่ไม่แน่ใจต่อไปนี้เป็นบทสัมภาษณ์ระหว่าง เดลิคซา ครูสอนโยคะแห่งอินเดีย กับคุณหมอโดลแมน แพทย์แผนตะวันตก ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
272
ธันวาคม 2544
โยคะในฐานะที่เป็นปรัชญา ในฐานะที่เป็นแนวทางปฏิบัตินำเราไปสู่การมองชีวิตในหลายๆ แง่มุม และค่อยๆทำให้เราตระหนักรู้ความจริงที่ว่า ทางออกของปัญหาทางกายและจิตนั้นอยู่ในตัวเราเองต่อไปนี้เป็นบทสัมภาษณ์ระหว่าง เดสิคชา ครูสอนโยคะที่มีชื่อเสียงแห่งอินเดียว กับ คุณหมอ โดลแมน แพทย์แผนตะวันตก ชาวเยอรมันที่ใช้โยคะบำบัดในการรักษาคนไข้ เนื้อหาว่าด้วยคุณประโยชน์ของโยคะในกระบวนการรักษาคนไข้ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
271
พฤศจิกายน 2544
โรค เกิดขึ้นได้ทั้งต่อกลไกการทำงานของร่างกายและทางด้านชีวภาพ โรคที่เกิดขึ้นต่อกลไกการทำงานของร่างกายในที่นี้ รวมถึงความผิดปกติของระบบภายใน รวมถึงปัญหาอันมีสาเหตุมาจากจิต มาจากความเครียด โรคเหล่านี้สามารถรักษาให้หายขาดได้ด้วยโยคะโดยเฉพาะโรคที่มีสาเหตุพื้นฐานมาจากจิต โยคะสามารถช่วยให้เราจัดการกับความป่วยไข้เหล่านี้ในระดับต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นการปรับปรุงคุณภาพชีวิต และกระทั่งการยืดอายุให้ยืนยาวขึ้น ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
270
ตุลาคม 2544
บรรพบุรุษของมนุษย์อาศัยอยู่บนต้นไม้ เคลื่อนไหวโดยใช้แขนและไหล่ในการห้อยกิ่งไม้ตลอดเวลา ธรรมชาติจึงออกแบบไหล่ให้สามารถเคลื่อนไหวได้โดยอิสระ สามารถหมุนไหล่ได้เกือบรอบทิศไหล่ประกอบด้วย กลุ่มข้อต่อย่อย5 ชิ้น เกาะกันไว้ห่าง ๆ เพื่อให้สามารถเคลื่อนไหวได้มาก (โดยมีเอ็นมารัดรอบข้อใหม่อีกข้อหนึ่ง) เบ้าไหล่บริเวณกระดูกต้นแขนนั้นเป็นแอ่นที่ตื้นมาก และด้วยลักษณะทางธรรมชาติเช่นนี้ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
269
กันยายน 2544
เข่าเป็นข้อที่มีลักษณะการเคลื่อนไหวคล้ายบานพับ เข่าประกอบด้วย ท่อนล่างของกระดูกต้นขา ท่อนบนของกระดูกหน้าแข้ง ที่ส่วนปลายของกระดูกทั้งสองเป็นกระดูกอ่อน ซึ่งช่วยรับน้ำหนักและลดการเสียดสีขณะเคลื่อนไหว ทั้งมีกระดูกอ่อนอีกสองชิ้นเป็นแผ่นรอง คอยทำหน้าที่เหมือนโชกอัพรับแรงกระแทก นอกจากนั้น ยังมีกระดูกสะบ้าอีก1 ชิ้น อยู่บริเวณด้านหน้าของเข่า ข้อเข่าก็เหมือนข้ออื่นๆ คือ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
268
สิงหาคม 2544
กล้ามเนื้อหลังและกล้ามเนื้อหน้าท้องที่ทำหน้าที่พยุงกระดูกสันหลัง ความยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อคือตัว รับแรงกระแทก (โช้กอัพ) ที่ดี สติในการเคลื่อนไหวอย่างเหมาะสมเป็นสิ่งสำคัญ เพื่อให้เกิดความสมดุลของกล้ามเนื้อ ทั้งในขณะหดตัว เหยียดตัว และผ่อนคลายหมอนรองกระดูก คือ กระดูกอ่อนชั้นกลางระหว่างกระดูกสันหลัง ทำหน้าที่เป็นตัวรับแรงกระแทก สาเหตุที่ทำให้หมอนรองกระดูกมีปัญหามาจากอิริยาบถผิดท่า อายุขัย ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
267
กรกฎาคม 2544
หลังส่วนล่าง หลังส่วนล่าง หมายถึง บริเวณกระดูกสันหลังส่วนล่าง กับบริเวณกระดูกก้นกบ ซึ่งพื้นที่บริเวณนี้เป็นส่วนที่เคลื่อนไหวได้ดีที่สุด เส้นประสาทที่อยู่บริเวณนี้จะเกี่ยวเนื่องไปยังขาทั้ง 2 ข้าง หากเส้นประสาทเหล่านี้ถูกกดทับ ขาทั้ง 2 ก็จะทำงานไม่เป็นปกติอาการปวดหลัง อาการปวดหลังเกิดได้จากหลายสาเหตุ เช่น ความผิดปกติของกล้ามเนื้อ-กระดูก-ข้อ ระบบปัสสาวะ ระบบ สูตินรี ช่องท้อง และจิตใจ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
266
มิถุนายน 2544
กระดูกคออักเสบ หรือกระดูกคอเสื่อม (ต่อ) ในขณะที่วิทยาการสมัยใหม่ ช่วยหาวิธีที่จะบำบัดรักษาโรคกระดูกคออักเสบหรือเสื่อม ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น ในทำนองเดียวกัน การศึกษาเพื่อหาแนวทางในการ “ป้องกัน” ก็เพิ่มขึ้นด้วย โยคะเป็นศาสตร์หนึ่งที่ช่วยในเรื่องการ “ป้องกัน” ได้เป็นอย่างดีและกุญแจที่สำคัญในการป้องกันของโยคะก็คือ “สติรู้ในอิริยาบถ” นั่นเอง ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
265
พฤษภาคม 2544
กระดูกคออักเสบ หรือกระดูกคอเสื่อมกระดูกคออักเสบหรือเสื่อมสามารถเกิดขึ้นกับใครก็ได้ ที่อายุระหว่าง35 ถึง70 ปี กระดูกคอและข้อต่อ บริเวณรอบๆของคนเราเสื่อมไปตามธรรมชาติ จะเร็วหรือช้าเท่านั้นเอง แต่ที่น่าสนใจก็คือ ไม่จำเป็นว่าทุกคนจะต้อง “ปวด” คอ บางคนที่ปวดคอ อาจเป็นอาการปวดรวมๆของกระดูกคอ กล้ามเนื้อ และอิริยาบถ (ที่ผิดท่า) ข้อพึงระลึกก็คือ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
252
เมษายน 2543
หัวใจของ(ผู้ฝึกทำ)โยคะ (๓)การศึกษาเป็นจำนวนมาก ทั้งทางด้านกายภาพและด้านจิตวิทยา สามารถบ่งบอกถึงบุคลิกของคนที่มีแนวโน้มจะเป็นโรคหัวใจ หมอวิลเลี่ยม ออสเลอร์ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญทางด้านโรคหัวใจกล่าวว่า คนโผงผาง ใจร้อน หรือที่เรียกกันว่าคนประเภท A มักเป็นโรคหัวใจได้ง่ายกว่าคนประเภท B ซึ่งมักเป็นคนสงบเสงี่ยม นุ่มนวล บุคลิกคนประเภท A ก้าวร้าว เจ้ากี้เจ้าการ ชอบแข่งขัน ไม่อดทน ฯลฯ ...