อื่น ๆ

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 116 ธันวาคม 2531
    คุณระทึก อายุ 31 ปี มีอาการอ่อนเพลีย เบื่ออาหารมาประมาณ 1 สัปดาห์ ก่อนหน้านี้สบายดีมาตลอดไม่เคยเจ็บป่วย เมื่อเริ่มไม่สบาย รู้สึกตัวร้อน ๆ มีไข้ ปวดเมื่อยทั่ว ๆ ไป อยู่ 2 วัน หลังจากไข้ลดก็รู้สึกเพลีย ๆ มาตลอด สามวันก่อนมาพบแพทย์มีอาการคลื่นไส้ อาเจียนวันละ 1-2 ครั้ง เพลียมาก ปัสสาวะเข้มจัดคล้ายสีน้ำชา คุณไฉไลสังเกตเห็นตาสีเหลือง ๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 116 ธันวาคม 2531
    19. เมื่อเด็กอายุ 5 ขวบ ควรเสริมสร้างพลังสมาธิท่านผู้อ่านคงเข้าใจแล้วว่า พลังสมาธิเป็นเงื่อนไขสำคัญเพียงไรในการช่วยให้เด็กหัวดีทีนี้มาถึงปัญหาที่ว่า ทำอย่างไร เด็กจึงมีพลังสมาธิดี? คำตอบง่าย ๆ ก็คือ หัดให้เด็กมีสมาธิเป็นนิสัยตั้งแต่เล็ก เรื่องนี้พูดง่ายแต่ทำได้ยากมาก การสร้างนิสัยให้เด็กมีสมาธินั้น ยิ่งเริ่มทำเร็วเท่าไรก็จะทำได้ง่ายเท่า นั้น แต่ถ้าปล่อยไว้จนถึงมัธยมปลาย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 116 ธันวาคม 2531
    “เด็กไทย คือ หัวใจของชาติ” “ลูก คือ หัวใจของพ่อแม่”คำพูดเหล่านี้คงจะเป็นที่คุ้นหู และซาบซึ้งอยู่ในใจแต่ละคนเป็นอย่างดี ทุกคนจึงอยากจะมอบสิ่งดี ๆ ให้กับเด็ก ไม่ว่าผู้ที่เป็นพ่อแม่ ปู่ย่า ตายายหรือสังคมโดยรวม เด็กไทยนั้นมีอยู่ถึง 18 ล้านคน หรือ คิดเป็นร้อยละ 38 ของประชากรทั้งประเทศ หากมองภาพรวม ๆ โดยทั่วไป เราอาจพบว่าสุขภาพของเด็กไทยดีขึ้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 115 พฤศจิกายน 2531
    คืนนี้ฝนตกหนัก ห้องแพทย์เวร ไม่มีผู้ป่วยเลย ผู้คนคงหลบฝนอยู่กับบ้านกันหมด ปวดหัวตัวร้อนอย่างไร ก็คงไม่มาหาหมอ ผมมีเวลาว่างพอที่จะอ่านหนังสือพิมพ์เพลิน ๆ ห้าทุ่มครึ่ง อีกครึ่งชั่วโมงผมจะได้กลับไปนอนพัก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 115 พฤศจิกายน 2531
    คนไข้ไทยนั้น ถ้าจะเปรียบกับคนไข้ที่มีความรู้ในประเทศร่ำรวยอย่างในสหรัฐอเมริกาหรืออังกฤษ นับว่าคนไทยส่วนใหญ่เป็นคนไข้ที่น่ารักน่าเห็นใจเป็นอันมาก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 115 พฤศจิกายน 2531
    18. อย่าสังกัดก๊ก “ไปพลาง” จงอยู่ก๊ก “ทีละอย่าง”การรวมศูนย์ความสนใจไปที่สิ่งหนึ่งสิ่งเดียว และมุมานะทำสิ่งนั้นจนสำเร็จ เป็นการพัฒนาพลังสมาธิของเด็กซึ่งเป็นสิ่งสำคัญมาก หากเด็กมีพลังสมาธิดี ผลการเรียนย่อมดีไปด้วย เพราะสามารถจดจำบทเรียนที่เด็กอื่นต้องใช้เวลาเป็นชั่วโมงได้ภายใน 20 นาที คะแนนสอบจึงจะดีขึ้นกล่าวได้ว่า เด็กที่มีพลังสมาธิ คือเด็กหัวดี ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 114 ตุลาคม 2531
    สมุนไพรที่ชื่อ “ตะขาบเหิรฟ้า” หรือที่ชาวจีนเรียกว่า “ปวยทีเง่กัง” (ปวย-บิน, ที-ฟ้า, เง่กัง-ตะขาบ) หลายคนอาจจะยังไม่คุ้นกับชื่อนี้นัก แต่ถ้าเอ่ยถึงสรรพคุณของตะขาบเหิรฟ้า คงจะมีหลายท่านสนใจอยากจะทำความรู้จักกับสมุนไพรชนิดนี้เป็นแน่คุณเพ็ญแข เจ้าหน้าที่ฝ่ายข้อมูล และสารสนเทศ กรมชลประทาน เป็นผู้หนึ่งซึ่งเคยลองใช้สมุนไพรชนิดนี้ได้ผลในการรักษามาแล้ว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 114 ตุลาคม 2531
    17. เด็กไม่ซน อนาคตอันตรายพลังความคิด พลังสมาธิ และจินตนาการสร้างสรรค์ของผมพัฒนาขึ้นมาได้ดี เพราะได้รับอิทธิพลจากคุณแม่และคุณตาเป็นส่วนใหญ่ คุณแม่ผมเป็นผู้นำการแต่งกายแบบฝรั่งมาเป็นเครื่องแบบนักเรียนสตรี ซึ่งสมัยนั้นยังสวมกิโมโนกันอยู่คุณแม่สั่งสกีมาจากเมืองนอก ให้นักเรียนหญิงทางเมืองเหนือใช้ลื่นไปบนหิมะแทนการสวมรองเท้าฟางและใช้ไม่ไผ่ คุณแม่ผมก็ได้รับอิทธิพลจากพ่อ คือคุณตาของผมนั่นเอง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 113 กันยายน 2531
    16. สมองเด็กเหนือกว่าคอมพิวเตอร์วันก่อนผมให้ลูกชายคนเล็ก เขียนเรียงความในหัวข้อเกี่ยวกับอนาคตของคอมพิวเตอร์ เมื่ออ่านผลงานเรียงความของลูก ผมก็รู้สึกโล่งใจ ที่ผลการสอนของผมซึมเข้าไปอยู่ในความคิดของลูกจริง ๆหากเราตั้งคำถามว่า คอมพิวเตอร์แบบล้ำยุคที่สุดจะเป็นแบบไหน? ผู้ใหญ่ทั่วไปคงตอบว่า คอมพิวเตอร์ จะพัฒนาขึ้นจนกระทั่งทำได้ทุกอย่างและมีคุณภาพดียิ่งขึ้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 112 สิงหาคม 2531
    “ประมาณ 2 ปีกว่าแล้ว ไปทำผมที่ร้านแห่งหนึ่ง เห็นป้ายว่า ถ้าใครต้องการจะนวดผมด้วยวุ้นว่านหางจระเข้ ก็เสียสตางค์เพิ่มอีก 5 บาทต่อ 1 ใบ จึงทดลองดูโดยใช้ 2 ใบ ...