เวชปฏิบัติปริทัศน์ (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)
-
วารสารคลินิก
276
ธันวาคม 2550
ระบบห้ามเลือด (hemostatic system) ในร่างกายจะเริ่มทำงาน เมื่อเกิดมีบาดแผล หรืออันตรายต่อหลอดเลือด โดยเริ่มต้นจากผนังของหลอดเลือดมีการหดตัวเพียงชั่วคราว เพื่อป้องกันการรั่วของเลือดออกนอกหลอดเลือด กลุ่มเกล็ดเลือดปะดังกันเข้ามาในบริเวณนี้เมื่อรวมกับปัจจัยแข็งตัวของเลือดเกิดเป็น platelet-fibrin mesh work และขณะเดียวกันก็มีกระบวนการสลายลิ่มเลือด (fibrinolytic system) ...
-
วารสารคลินิก
276
ธันวาคม 2550
ในช่วง perimenopause การเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนเพศในระยะแรกคือ ไม่มีการหลั่งฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนเป็นรอบๆ. ผลที่เกิดกับร่างกายคือ การเปลี่ยนแปลงของเลือดประจำเดือน ซึ่งรูปแบบของประจำเดือนที่เกิดขึ้นมีได้ทุกชนิด เช่น ประจำเดือนมาห่าง (oligomenorrhea) ประจำเดือนมามาก (menorrhagia) ขาดประจำเดือน (amenorrhea) ประจำเดือนมาถี่ (polymenorrhea) และประจำเดือนมาปกติ. ...
-
วารสารคลินิก
275
พฤศจิกายน 2550
Fowler's syndrome หรือ Isolated urinar retention in young women ได้มีการกล่าวถึงมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2528 ซึ่งตั้งชื่อตามชื่อของผู้ที่รายงานภาวะนี้เป็นครั้งแรก ซึ่งผู้ป่วยหญิงกลุ่มนี้จะมีอาการถ่ายปัสสาวะไม่ออก ต้องสวนปัสสาวะ แต่ตรวจไม่พบความผิดปกติใดๆที่จะอธิบายอาการถ่ายปัสสาวะไม่ออกนี้ได้ ซึ่งพบว่าร้อยละ 50 จะมี polycystic ovary ร่วมด้วย ...
-
วารสารคลินิก
275
พฤศจิกายน 2550
การรักษาด้วยยาต้านไวรัส โดยการใช้ยาต้านไวรัสอย่างน้อย 3 ชนิดร่วมกันที่เรียกว่า highly active antiretroviral therapy (HAART) นำไปสู่การรักษาการติดเชื้อเอชไอวีในระดับที่ควบคุมจนไม่สามารถตรวจพบไวรัสในกระแสเลือด (undetectable level) ทำให้ผู้ติดเชื้อเอชไอวีมีภูมิต้านทานดีขึ้นหรือจำนวน CD4 สูงขึ้น อุบัติการณ์ของโรคติดเชื้อฉวยโอกาสลดลง อัตราตายลดลง และมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น. ...
-
วารสารคลินิก
274
ตุลาคม 2550
Respiratory failure in children : recognition and initial managementเมื่อพบผู้ป่วยที่มีอาการหอบเหนื่อย หายใจเร็ว หายใจลำบาก หรือต้องออกแรงในการหายใจมากกว่าปกติ จะต้องคิดไว้เสมอว่าความรุนแรงของอาการเหล่านั้น อาจจะถึงขั้นที่เรียกว่ามีภาวะการหายใจล้มเหลว (respiratory failure) ซึ่งมีโอกาสเกิดขึ้นได้ในทุกๆ ขณะ. ดังนั้นจึงควรสังเกตอาการของผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด ...
-
วารสารคลินิก
274
ตุลาคม 2550
สาเหตุของการอาเจียนโดยทั่วไปมักแบ่งลักษณะการอาเจียนเป็น 2 กลุ่มดังนี้1. Nonbilious vomiting ไม่ว่าการอาเจียนจะมีสาเหตุจากอะไรก็ตาม จะมีสิ่งที่อยู่ในลำไส้เล็กไหลย้อนกลับเข้าไปในกระเพาะอาหาร แต่ถ้าสาเหตุนั้นไม่ได้เกิดจากภาวะลำไส้อุดกั้นที่ต่ำกว่า ampulla of Vater มักจะยังมี antegrade intestinal flow ทำให้น้ำดีส่วนใหญ่ไหลลงสู่ลำไส้เล็ก ดังนั้นสิ่งที่อาเจียนออกมาจึงไม่มีน้ำดีปน กลุ่มโรคที่ทำให้มี ...
-
วารสารคลินิก
274
ตุลาคม 2550
ในการประเมินผู้ป่วยที่มาด้วยปัญหาหลงลืม ทั้งตั้งแต่แรกเริ่มวินิจฉัยและเมื่อติดตามดูแลรักษาผู้ป่วย แพทย์ควรตั้งหัวข้อประเมินผู้ป่วย ใน 3 แนวทางเสมอ1. ประเมินด้าน cognition.2. ประเมินอาการทางประสาทจิตเวช (neuropsychiatric, NP).3. ประเมินความสามารถในการช่วยเหลือตัวเองในกิจวัตรประจำวัน (activity of daily living, ADL).นอกจากนี้แพทย์ควรประเมิน ...
-
วารสารคลินิก
273
กันยายน 2550
Septic shock เป็นภาวะวิกฤตที่มีความสำคัญเพราะมีอัตราตายสูง แม้จะมีวิวัฒนาการทางการรักษาอย่างมากมายเป็นเพราะสภาพของผู้ป่วยโดยรวมที่มีโรคหรือภาวะเรื้อรังเป็นทุนเดิม. อย่างไรก็ตาม ผลการรักษาจะดีหรือไม่ ขึ้นอยู่กับการที่แพทย์ผู้รักษามีความเข้าใจในพยาธิสรีรวิทยาของโรค การดำเนินโรค การรักษา ตลอดจนการประเมินและเฝ้าระวังผลของการรักษา.คำจำกัดความSeptic shock เป็นภาวะช็อกที่เกิดจาก systemic inflammatory ...
-
วารสารคลินิก
273
กันยายน 2550
ภาวะ sepsis เป็นภาวะวิกฤติที่พบได้บ่อยมาก และเป็นสาเหตุอันดับต้นๆ ของการเสียชีวิตของผู้ป่วยในหอผู้ป่วยวิกฤติ. สาเหตุที่สำคัญที่สุดของภาวะ sepsis และ septic shock คือการติดเชื้อแบคทีเรีย. ในระยะเวลา 20 ปีที่ผ่านมา มีการค้นพบยาปฏิชีวนะใหม่ๆ จำนวนมาก ตลอดจนมีความก้าวหน้าในด้านการให้การดูแลผู้ป่วยที่การทำงานของอวัยวะหลายระบบเกิดความล้มเหลว ...
-
วารสารคลินิก
272
สิงหาคม 2550
บทนำจากสถิติทั่วโลกที่เกี่ยวข้องกับโรคมะเร็งซึ่งจัดทำโดย The International Agency for Research on Cancer (IARC)1 พบว่า มะเร็งเต้านมจัดเป็นมะเร็งที่พบได้บ่อยที่สุดในสตรี โดยมีมะเร็งปากมดลูก และรังไข่พบได้บ่อยเป็นอันดับที่ 2 และที่ 6 ตามลำดับ จากรายงานดังกล่าว พบผู้ป่วยใหม่ที่เป็นมะเร็งปากมดลูก และรังไข่ปีละ 493,243 และ 204,499 รายตามลำดับ สำหรับประเทศไทย ...