Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » คอลัมน์ » เวชปฏิบัติปริทัศน์

เวชปฏิบัติปริทัศน์ (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)

  • ความสัมพันธ์ระหว่างจิตใจและผิวหนัง(The Mind and Skin Connection) ตอนจบ...โรคจิตหลงผิดของผิวหนัง

    วารสารคลินิก 297 กันยายน 2552
    (โรคจิตหลงผิด (delusional disorder) เป็นความผิดปกติทางจิตใจที่มีอาการหลงผิดหนึ่ง หรือหลายอย่าง แต่ไม่มีอาการ และอาการแสดงของโรคทางจิตเวชอื่นๆ ร่วมด้วย เช่น schizophrenia และไม่มีอาการประสาทหลอน (hallucinations) ที่ชัดเจน. อย่างไรก็ตาม ผู้ป่วยที่มีอาการหลงผิดบางรายอาจพบอาการประสาทหลอนทางสัมผัส (tactile hallucinations) หรือประสาทหลอนทางกลิ่น (olfactory hallucinations) ...
  • กาฬโรค โรคเก่าอุบัติใหม่

    วารสารคลินิก 297 กันยายน 2552
    กาฬโรคเป็นโรคที่รู้จักกันมาแต่โบราณกว่า 2000 ปี มีการบันทึกไว้ว่ามีการระบาดครั้งใหญ่ในโลกหลายครั้ง การระบาดใหญ่ที่มีผู้คนเสียชีวิตจำนวนมากเกิดขึ้นในยุโรปในปี พ.ศ. 1890-1894 โดยมีการเรียกว่า Black Death ทำให้มีผู้เสียชีวิตประมาณ 17-28 ล้านคน คิดเป็นประมาณหนึ่งในสี่ของประชากรในยุโรปที่เสียชีวิต หลังจากนั้นก็มีการระบาดในประเทศจีนและฮ่องกงในช่วงปี พ.ศ. 2403-2433 ในปี พ.ศ. 2437 Alexandre ...
  • โรคกรดไหลย้อน(Gastroesophageal reflux disease, GERD) (ตอนจบ)

    วารสารคลินิก 297 กันยายน 2552
    การวินิจฉัยโรคกรดไหลย้อนในประเทศทางตะวันตก ผู้ป่วยที่มาด้วยอาการแสบร้อนหน้าอกและเรอเปรี้ยว โดยที่ไม่มีอาการอื่นๆ ของกระเพาะอาหารหรือลำไส้ร่วมด้วยจะมีโอกาสเป็น โรคกรดไหลย้อนได้มาก77 แต่ถ้ามีอาการอื่นๆ ของทางเดินอาหารร่วมด้วยจะมีโอกาสเป็นกรดไหลย้อนน้อยลง ส่วนในประเทศไทยเนื่องจากอาการแสบร้อนหน้าอกพบได้บ่อยน้อยกว่าผู้ป่วยในประเทศทางตะวันตก59 ...
  • Allergic skin diseases

    วารสารคลินิก 297 กันยายน 2552
    ผิวหนังมีหน้าที่หลายประการที่สำคัญคือ ป้องกันสารจากสิ่งแวดล้อมรวมทั้งเชื้อโรคไม่ให้เข้าสู่ผิวหนัง ป้องกันการสูญเสียสารน้ำและเกลือแร่ในร่างกาย และทำหน้าที่สร้างสารต่างๆ รวมทั้งมีหน้าที่เกี่ยวกับระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย.1โรคผิวหนังที่เกี่ยวข้องกับระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายที่พบบ่อยได้แก่ ลมพิษ (urticaria) ผื่นแพ้สารสัมผัสชนิด allergic contact dermatitis และผื่นภูมิแพ้ผิวหนัง (atopic ...
  • รู้ทันเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 (H1N1)

    วารสารคลินิก 294 มิถุนายน 2552
    บทนำเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ (Influenza virus) เป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุข เศรษฐกิจ และสังคมในหลายๆ ประเทศทั่วโลกตั้งแต่ในอดีตถึงปัจจุบัน ในปัจจุบันได้มีการพัฒนาวัคซีนและยาต้านไวรัสอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ตามตัวเชื้อไวรัสชนิดนี้มีอัตราการกลายพันธุ์และวิวัฒนาการอย่างต่อเนื่อง ทำให้สามารถหลบเลี่ยงระบบภูมิคุ้มกัน หรือดื้อต่อยาที่ใช้ในการรักษาได้ ...
  • โรคเยื่อจมูกอักเสบฝ่อ Atrophic Rhinitis (Ozaena)

    วารสารคลินิก 294 มิถุนายน 2552
    โรคเยื่อจมูกอักเสบฝ่อเป็นโรคที่เยื่อบุจมูกมีการเปลี่ยนแปลงจาก respiratory epithelium (pseudostratified columnar epithelium) เป็น cuboidal หรือ squamous epithelium ทำให้ secretion ในจมูกตกค้าง และแห้งเป็น crust เกาะติดอยู่บนเยื่อบุจมูก เมื่อสะสมกันมากขึ้น อาจอุดกั้นโพรงจมูก และทำให้เกิดกลิ่นเหม็นได้.โรคเยื่อจมูกอักเสบฝ่อแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด คือ 1.Primary atrophic rhinitis or ...
  • หลักฐานใหม่ว่าด้วยยา Beta-blocker

    วารสารคลินิก 294 มิถุนายน 2552
    สิ่งซึ่งหวังว่าผู้อ่าน "รู้ " แล้ว เกี่ยวกับ systemic hypertension1.ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับความดันเลือดสูง1.1Hypertension (HT) ในที่นี้ คือ primary หรือ essential HT (ซึ่งจริงๆแล้วเป็นชื่อที่ไม่เหมาะ ควรเรียกว่าความดันสูงที่ไม่มีสาเหตุ หรือ non-secondary). ความดัน systolic ทำนายภาวะแทรกซ้อนได้ดีกว่า diastolic ในคนสูงอายุ เพราะค่าของ diastolic ...
  • Management of NSAIDs-induced gastrointestinal injury

    วารสารคลินิก 293 พฤษภาคม 2552
    NSAIDs เป็นยาที่มีการใช้และถูกสั่งโดยแพทย์แพร่หลายมากที่สุดขนานหนึ่ง มียอดจำหน่ายทั่วโลกประมาณปีละหมื่นล้านเหรียญสหรัฐ. NSAIDs มักใช้ในการรักษาอาการปวดและอักเสบของโรคกล้ามเนื้อและกระดูก มีคนประมาณ 30 ล้านคนในแต่ละวันที่จำเป็นต้องใช้และได้ประโยชน์จากการใช้ยา NSAIDs. เหตุที่มีการใช้ NSAIDs. เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ มี หลายประการคือ 1) มีการใช้ยาขนานนี้ได้สะดวก มากขึ้นโดยไม่ต้องใช้ใบสั่งยา 2) ...
  • ABC Transporters and Drug Therapy

    วารสารคลินิก 292 เมษายน 2552
    ในปัจจุบันการศึกษาประสิทธิผลของยาในการรักษา สามารถสรุปความเกี่ยวเนื่องกันได้เป็นสองกระบวนการใหญ่ๆ คือ เภสัชจลนศาสตร์ (pharmacokinetics) และเภสัชพลศาสตร์ (pharmacodynamics) ในการบริหารยาโดยวิธีรับประทานนั้น ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาส่วนใหญ่มักขึ้นกับปริมาณที่ยาสามารถถูกดูดซึมผ่านลำไส้อย่างเพียงพอเข้าสู่ร่างกาย และมีการกระจายตัวไปยังตำแหน่งของการออกฤทธิ์ ก่อนที่จะถูกกำจัดออกจากร่างกายโดยกระบวนการ ...
  • ภาวะสมองเสื่อมในผู้ป่วยโรคพาร์กินสัน(Parkinson's Disease Dementia)

    วารสารคลินิก 292 เมษายน 2552
    ในอดีตการดูแลผู้ป่วยโรคพาร์กินสัน มักเน้นแต่ด้านความผิดปกติทางการเคลื่อนไหวได้แก่ อาการสั่น (tremor) เกร็งแข็ง (rigidity) ทำอะไรช้า (bradykinesia) และการทรงตัวผิดปกติ (postural instability) แต่ในปัจจุบันนี้พบว่าความผิดปกติทางด้านอื่นๆก็สามารถทำให้เกิดปัญหาในผู้ป่วยและต่อแพทย์ที่ดูแลผู้ป่วยกลุ่มนี้ ตัวอย่างความผิดปกติดังกล่าว ได้แก่ ความผิดปกติในด้านการคิดและหาเหตุผลของสมอง (cognitive ...
  • 1
  • 2
  • 3
  • 4
  • 5
  • 6
  • 7
  • 8
  • 9
  • ›
  • »
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • 108 ปัญหายา
  • Guideline
  • กฎหมายการแพทย์น่ารู้
  • กดจุดเพื่อสุขภาพ
  • กรมควบคุมโรค
  • กลไกการเกิดโรค
  • กว่าจะเป็นแม่
  • กันไว้ดีกว่าแก้
  • การรักษาขั้นต้น
  • การรักษาพื้นบ้าน
  • การแพทย์ตะวันออก
  • การใช้ยา พอเพียง
  • การ์ตูน "กินสร้างสุข"
  • กินถูก...ถูก
  • กีฬาบำบัด
  •  
  • 1 จาก 14
  • ››

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa