เวชปฏิบัติปริทัศน์ (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)
-
วารสารคลินิก
268
เมษายน 2550
ภาพที่ 1. พาร์กินโซนิซึมมีได้หลายสาเหตุ โดยที่โรคพาร์กินสัน เป็นสาเหตุที่พบบ่อยที่สุด มากถึงร้อยละ 70.พาร์กินโซนิซึม (parkinsonism) เป็นกลุ่มอาการ (syndromes) ไม่ใช่โรค (ต่างจากโรคพาร์กินสันที่จะกล่าวโดยละเอียดในภายหลัง) ที่รวมถึงลักษณะอาการสั่นที่มือหรือขาขณะอยู่เฉย (rest tremor) อาการเคลื่อนไหวช้า (bradykinesia) อาการแข็งเกร็ง (rigidity) และปัญหาในเรื่องของการทรงตัว (postural instability) ...
-
วารสารคลินิก
268
เมษายน 2550
นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าหรือที่เป็นที่รู้จักกันทั่วไปในนาม "30 บาทรักษาทุกโรค" นับเป็นความเปลี่ยนแปลงในระบบบริการสาธารณสุขของประเทศ ตลอดจนการจัดการภายในของกระทรวงสาธารณสุขครั้งใหญ่ครั้งหนึ่ง. ที่ผ่านมา ผู้เขียนได้ยินเสียงที่ชื่นชมในความสำเร็จในการสร้างหลักประกัน ทางสุขภาพที่สามารถช่วยเหลือประชาชนกลุ่มต่างๆ ให้เข้าถึงการรักษาพยาบาลได้โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายมากนัก ...
-
วารสารคลินิก
267
มีนาคม 2550
เซลล์ต้นกำเนิด (stem cell) มีแหล่งที่มาหลายชนิด ได้แก่ ตัวอ่อนทารก, เลือดสายสะดือ และร่างกายผู้ใหญ่. คุณสมบัติที่น่าสนใจคือ สามารถใช้ในการรักษาโรคต่างๆ ได้. ตัวอย่างเช่น Parkinson' disease, Congenital immunodeficiencies, Haemoglobinopathies,1 spinal cord injuries เป็นต้น.2ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมาเลือดสายสะดือเป็นแหล่งทางเลือกของเซลล์ต้นกำเนิดชนิด haematopoietic ...
-
วารสารคลินิก
267
มีนาคม 2550
บทนำการปลูกถ่ายไขกระดูก (Bone marrow transplantation) รักษาผู้ป่วยโดยใช้เซลล์ต้นกำเนิดเม็ดโลหิต (Hematopoietic stem cell) จากพี่น้องที่มีหมู่เนื้อเยื่อ HLA (Human leukocyte antigen) ตรงกัน เป็นที่ยอมรับในวงการแพทย์ว่า เป็นวิธีการที่ประสบความสำเร็จในการรักษาเด็กและผู้ใหญ่ที่ป่วยเป็นโรคอันตรายหลายชนิด อาทิเช่น โรคมะเร็งที่มีความเสี่ยงหรือมีโอกาสกำเริบสูง โรคภูมิคุ้มกันบกพร่องแต่กำเนิด ...
-
วารสารคลินิก
266
กุมภาพันธ์ 2550
ผู้ป่วยชายไทยคู่ อายุ 35 ปี ลูกจ้างสังกัดกรุงเทพมหานคร จังหวัดกรุงเทพมหานคร อาการสำคัญ มีอาการปวดท้องมากประมาณ 6 ชั่วโมง ก่อนมาโรงพยาบาล.ประวัติปัจจุบัน 6 ชั่วโมง ก่อนมาโรงพยาบาลหลังจากกินเหล้า 3 ชั่วโมง ญาติสังเกตว่าผู้ป่วยมีอาการปวดท้องบริเวณลิ้นปี่ร่วมกับมีอาการเจ็บบริเวณอกทั้งสองข้าง หลังจากนั้นมีอาการหอบเหนื่อยหายใจเร็วหายใจลึก ปัสสาวะ อุจจาระปกติ ไม่มีประวัติคลื่นไส้ อาเจียน ...
-
วารสารคลินิก
266
กุมภาพันธ์ 2550
ในปัจจุบันทั่วโลกมีการบริโภคสุราอย่างกว้างขวาง เฉพาะในประเทศสหรัฐอเมริกาประเทศเดียวประมาณการว่ามีผู้ใหญ่ที่บริโภคสุราสูงถึงร้อยละ 50 และมีประชากรประมาณ 15 ถึง 20 ล้านคนที่ป่วยเป็นโรคพิษสุราเรื้อรัง (alcoholism). นอกจากนี้ร้อยละ 20-40 ของผู้ป่วยที่เข้ารักษาตัวในโรงพยาบาลมีปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการบริโภคสุรา พบว่าแอลกอฮอล์สามารถซึมผ่านเนื้อเยื่อและอวัยวะต่างๆ ...
-
วารสารคลินิก
266
กุมภาพันธ์ 2550
ลุงสมาน ชายไทยอายุ 56 ปี มาพบคุณหมอวรวุฒิแต่เช้า ด้วยอาการเมื่อยๆ รู้สึกเหมือนไม่มีแรง. ยังไม่ทันจะได้ซักประวัติกันเลย คุณหมอวรวุฒิก็แทบจะวินิจฉัยได้แล้วว่าลุงสมานเป็นอะไร เพราะอาการที่เดินโซซัดโซเซของลุง กับกลิ่นเหล้าที่เหม็นคละคลุ้งที่โชยมา บอกให้รู้ว่าคุณลุงแกดื่มเหล้ามาจนได้ที่'เป็นยังไงล่ะลุง" คุณหมอเบือนหน้าหนี เพราะเริ่มจะรู้สึกเมาตามไปด้วย"ไม่มีแรงครับ" ...
-
วารสารคลินิก
265
มกราคม 2550
การโป่งพองของผนังหลอดเลือดแดงเอออร์ตาอย่างถาวร ซึ่งโตกว่าขนาดปกติเกินร้อยละ 501 เกิดในช่องท้อง (abdominal aortic aneurysm) มักจะปรากฏอยู่ต่ำกว่าหลอด เลือดแดงไต (renal artery) มีเพียงร้อยละ 2 ...
-
วารสารคลินิก
265
มกราคม 2550
หลังจากที่มีการรักษาด้วยยาต้านไวรัส (highly active antiretroviral therapy, HAART) กันอย่างกว้างขวาง ทำให้อัตราการเสียชีวิตของผู้ติดเชื้อเอชไอวีลดลงอย่างมาก ผู้ป่วยมีชีวิตยืนยาวขึ้น ส่งผลให้พบผลข้างเคียงของการรักษาในระยะยาวบ่อยขึ้น โดยเฉพาะความผิดปกติทางเมตาบอลิก เช่น โคเลสเตอรอลและไตรกลีเซอร์ไรด์ที่สูงขึ้น ซึ่งสัมพันธ์กับโรคหัวใจและหลอดเลือดเช่นเดียวกับประชากรทั่วไป. ...
-
วารสารคลินิก
263
พฤศจิกายน 2549
ภาวะที่ผู้ป่วยมีอาการโรคหืดกำเริบอย่างรุนแรง หรือ status asthmaticus หมายถึง การที่ผู้ป่วยได้รับยาขยายหลอดลมเพื่อรักษาโรคหืดกำเริบแล้วผู้ป่วยอาการไม่ดีขึ้น อาการที่เป็นอาจรุนแรงถึงขั้นที่จะมี respiratory failure ได้.1 ในทางปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วย เมื่อพบผู้ป่วยที่มาด้วยโรคหืดกำเริบให้ยาขยายหลอดลมแบบ nebulizer แล้วอาการไม่ดีขึ้นให้คิดถึงภาวะ status asthmaticus ไว้ด้วยเสมอ ...