ตรวจสุขภาพด้วยตัวเอง (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)

  • วารสารคลินิก 287 พฤศจิกายน 2551
    ตัวอย่างผู้ป่วยผู้ป่วยชายอายุ 42 ปี มาด้วยขาทั้ง 2 ข้างบวมมากร่วมกับอัณฑะบวมนาน 1 สัปดาห์ นอกจากนี้ผู้ป่วยสังเกตว่าคอโตมากขึ้นนาน 3 เดือนและน้ำหนักลดลง 4 กิโลกรัมภายใน 4 เดือน รวมทั้งมีอาการเหนื่อยง่ายทำงานได้น้อยลง นอนราบได้และไม่มีอาการหอบเหนื่อยตอนกลางคืน. จากการตรวจร่างกายพบว่า ชีพจรเร็วประมาณ 150 ครั้ง/นาที และมีจังหวะไม่สม่ำเสมอ ตาเหลือง (jaundice) ไม่มีไข้. ...
  • วารสารคลินิก 284 สิงหาคม 2551
    อาชีวเวชศาสตร์ปริทัศน์ฉบับที่แล้วนำเสนอบทสนทนาระหว่างผู้เขียนกับพนักงานของบริษัทแห่งหนึ่งจำนวน 15 คนที่ได้รับการคัดเลือกให้เข้าร่วมโครงการอบรม "ผู้บริหารรุ่นใหม่" เพื่อเป็นการ "เตรียมความพร้อมให้กับกลุ่มผู้นำในอนาคต ในการสร้างความรู้ ความเข้าใจ และจิตสำนึก ด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ความปลอดภัย และความรับผิดชอบต่อสังคม และมี ...
  • วารสารคลินิก 283 กรกฎาคม 2551
    เมื่อปลายเดือนพฤษภาคมที่ผ่านมา ผู้เขียนได้มีโอกาสพูดคุยแลกเปลี่ยนทัศนคติและประสบการณ์กับทีมงานของบริษัทแห่งหนึ่งจำนวน 15 คน โดยพนักงานกลุ่มนี้ได้รับการคัดเลือกให้เข้าร่วมโครงการอบรม "ผู้บริหารรุ่นใหม่" ของบริษัท เพื่อเป็นการ "เตรียมความพร้อมให้กับกลุ่มผู้นำในอนาคต ในการสร้างความรู้ ความเข้าใจ และจิตสำนึก ด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ความปลอดภัย และความรับผิดชอบต่อสังคม ...
  • วารสารคลินิก 276 ธันวาคม 2550
    Metabolic syndrome คือกลุ่มความผิดปกติที่เป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดซึ่งพบร่วมกันได้บ่อย ความผิดปกติดังกล่าวได้แก่ความผิดปกติของไขมันในเลือด ความดันโลหิต ระดับน้ำตาล ตลอดจนปัจจัยที่เป็น prothrombotic และ proinflammatory. ผู้ที่เป็น metabolic syndrome จะเพิ่มโอกาสเสี่ยงในการเกิดโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และโรคหัวใจและหลอดเลือด. สาเหตุของ metabolic syndrome ...
  • วารสารคลินิก 272 สิงหาคม 2550
    Disclaimer : รายงานการศึกษาวิจัยทางการแพทย์มีมากมายมหาศาล ในขณะนี้เป็นสิ่งที่ต้องติดตามเป็นอย่างยิ่ง คอลัมน์นี้ได้สรุปรายงานการศึกษาที่น่าสนใจที่ลงในวารสารทางการแพทย์ที่ผ่าน peer review มาให้สมาชิกทราบ แต่ข้อพึงระวังคือ ไม่ใช่ว่าทุกอย่างที่มีการรายงานการศึกษาจะมีความถูกต้องเป็นสัจจะ เพราะไม่มีอะไรถูกต้องร้อยเปอร์เซ็นต์ ในทางการแพทย์ ความรู้ ความเชื่อ ณ วันนี้อาจได้การยอมรับ แตˆความรู้ใหม่ๆ ...
  • วารสารคลินิก 263 พฤศจิกายน 2549
    อาการอ่อนเปลี้ยเพลียแรงเป็นอาการพบบ่อย ที่สำคัญ และเรียกได้ว่าเป็น "ไม้เบื่อไม้เมา" ในเวชปฏิบัติ เพราะพบได้ทั้งคนทั่วไปและคนที่ป่วยเป็นโรค แพทย์ส่วนใหญ่มักรู้สึกไม่ยินดีที่จะดูแลอาการดังกล่าว โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากไม่พบสาเหตุโรคชัดเจนเมื่อไม่พบโรคทางกาย ก็มักจะเข้าใจว่าเป็นโรคทางใจ และละเลยที่จะสนใจในรายละเอียดความทุกข์ทรมานลักษณะนี้ "ไปนอนซะ ...
  • วารสารคลินิก 262 ตุลาคม 2549
    กรณีผู้ป่วยเมื่อ 8 ปีที่แล้ว ผู้ป่วยเปิดปี๊บหน่อไม้มาแล้วทดลองกินเอง เห็นว่าไม่มีอะไรเกิดขึ้น จึงนำหน่อไม้ไปแจกและขาย ซึ่งผู้ที่เปิดปี๊บคือหนึ่งในผู้ซึ่งเสียชีวิตจากพิษ botulinumครั้งนี้พิษ botulinum เกิดจากเชื้อ Clostridium botulinum ซึ่งเป็น anaerobe. ในภาวะที่ไม่สามารถเจริญเติบโตได้ก็จะสร้างสปอร์ ...
  • วารสารคลินิก 262 ตุลาคม 2549
    "ข่าวร้ายและข่าวดีเกี่ยวกับโรคติดเชื้ออุบัติใหม่. ช่วงเดือนที่ผ่านมาทุกท่านคงได้รับทราบข่าวเกี่ยวกับการระบาดระลอกที่ 4 ของโรคไข้หวัดนกในจังหวัดพิจิตรและอุทัยธานีกันแล้ว อย่างไรก็ตามจนถึงปัจจุบันเรายังไม่พบหลักฐานยืนยันชัดเจนว่ามีการติดต่อจากคนสู่คน หมายถึงว่าสถานการณ์การระบาดของโรคไข้หวัดนกในประเทศไทยยังอยู่ในระดับ 3 ตามเกณฑ์ของ WHO (WHO. Influenza Pande mic Preparedness Plan ...
  • วารสารคลินิก 259 กรกฎาคม 2549
    ในปี พ.ศ. 2523 กองระบาดวิทยาได้รับรายงานโดยโทรสารจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดราชบุรีว่ามีการระบาดของโรคผิวหนังเป็นแผล ในชาวบ้านจำนวนมาก ขอให้ส่งนักระบาดวิทยาไปช่วยสอบสวนหาสาเหตุของโรค และแนะนำวิธีการควบคุม/ป้องกันการระบาดของโรค. ความจริงแล้วก่อนหน้านั้น 1 เดือน ได้มีการสอบสวนการระบาดของโรคแผลที่มีลักษณะเรื้อรังแล้วครั้งหนึ่งที่จังหวัดนครปฐม ชาวบ้านเรียกแผลชนิดนี้ว่า " แผลปากหมู " ...
  • วารสารคลินิก 254 กุมภาพันธ์ 2549
    1. การระบาดใหญ่ของไข้หวัดใหญ่แตกต่างจากโรคไข้หวัดนกไข้หวัดนกเป็นกลุ่มของไวรัสไข้หวัดใหญ่ที่เดิม  ทําให้เจ็บป่วยเฉพาะในนก นานๆ ครั้งจะพบการติดเชื้อในสัตว์ตระกูลอื่น เช่น หมู และคน. ไวรัสไข้หวัดนกส่วนใหญ่จะไม่ทําให้เกิดการติดเชื้อในคน. การระบาดใหญ่ของไข้หวัดใหญ่เกิดขึ้นเมื่อมีไวรัสสายพันธุ์ใหม่ที่ยังไม่เคยทําให้เกิดโรคในคนขึ้น ดังนั้นไวรัส H5N1 ...