Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » คอลัมน์ » คุยกับผู้อ่าน

คุยกับผู้อ่าน

  • ไข้หวัดนก

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 307 พฤศจิกายน 2547
    ไข้หวัดนกเป็นหนึ่งใน "จตุรวินาศ" เพราะถ้าควบคุมไม่ได้ผู้คนจะล้มตาย และเศรษฐกิจพัง ต้องมีการฆ่าเป็ดฆ่าไก่ไปเป็นแสนๆ ตัวเป็นตัวอย่างหนึ่งของสภาพโกลาหล (chaos) ที่จะเกิดขึ้นในระบบที่ซับซ้อน สังคมปัจจุบันเชื่อมโยงกันอย่างสลับซับซ้อนด้วยประชากรและระบบเศรษฐกิจในระบบที่ซับซ้อน ไวรัสตัวเดียว ก็ก่อให้เกิดความโกลาหลในระบบเศรษฐกิจและชีวิตของผู้คนได้ในสมัยโบราณที่ผู้คนไม่หนาแน่น และอยู่แยกๆ กัน ...
  • สุขภาวะจากการมีจิตใหญ่

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 295 พฤศจิกายน 2547
    สุขภาวะจากการมีจิตใหญ่สุขภาพหรือสุขภาวะคือความอยู่เย็นเป็นสุข การอยู่เย็นเป็นสุขจะมีอยู่คนเดียวโดยคนอื่นอยู่ร้อนนอนทุกข์ไม่ได้ เพราะคนทั้งหมดเชื่อมโยงกันแบบที่เรียกว่า หยิกที่เล็บเจ็บถึงเนื้อ เหมือนในร่างกายของเราถ้าส่วนใดส่วนหนึ่งป่วยส่วนอื่นๆ ก็พลอยป่วยไปด้วย เพราะฉะนั้นเราจะแยกตัวไปมีความสุขเฉพาะตัวย่อมทำไม่ได้ เพราะมิช้ามินานความเจ็บป่วยในสังคมก็จะลามมาถึงเรา ...
  • INN – โครงสร้างแห่งความสุข

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 294 ตุลาคม 2547
    INN – โครงสร้างแห่งความสุขความทุกข์ของผู้คนอย่างหนึ่ง คือ การถูกกดทับจากโครงสร้างของระบบ จะเป็นระบบขององค์กรก็ดี โดยเฉพาะระบบราชการ หรือระบบทุนนิยมโลกก็ดี โครงสร้างเหล่านี้หนักมากทำให้ชีวิตขบกัดจนเจ็บป่วยได้ หรือทำให้รู้สึกว่าเราไร้อำนาจ หรือพลังที่จะทำอะไรกับมัน (powerlessness) มีความรู้สึกท้อแท้สื้นหวัง (hopelessness) ความรู้สึกไร้อำนาจควบคุมอะไรไม่ได้ ความรู้รึกท้อแท้ ...
  • คุณและโทษของจีเอ็มโอ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 306 ตุลาคม 2547
    คุณและโทษของจีเอ็มโอการตัดแต่งยีน และเทคโนโลยีชีวภาพ มีทั้งคุณและโทษความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีด้านนี้ก้าวหน้าไปรวดเร็วมาก มีข้อเสนอแนะว่าจะต้องทำเรื่อง ELSI ควบคู่ไปด้วยอย่างทันกัน เอลซีคืออะไร เอลซีคือ... E = Ethical ...
  • สมัชชาสุขภาพแห่งชาติ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 293 กันยายน 2547
    สมัชชาสุขภาพแห่งชาติเมื่อวันที่ ๗-๘ สิงหาคม ๒๕๔๖ มีการประชุมสมัชชาสุขภาพแห่งชาติครั้งที่ ๓ ที่สนับสนุนโดยสำนักงานปฏิรูประบบสุขภาพแห่งชาติ (สปรส.) และองค์กรพันธมิตรอีกนับร้อยในจำนวนผู้เข้าร่วมประชุมประมาณ ๒,๐๐๐ คน ประกอบด้วยชาวบ้านจากทุกจังหวัดเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งเคยผ่านการประชุมสมัชชาสุขภาพจังหวัดมาแล้วทุกจังหวัด ปรัชญาที่อยู่เบื้องหลังการเคลื่อนไหวสร้างสุขภาพคือ ...
  • อาหารไทย-อาหารสุขภาพ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 305 กันยายน 2547
    อาหารไทย-อาหารสุขภาพอาหารเกี่ยวกับสุขภาพอย่างมาก คนแอฟริกันเป็นโรคริดสีดวงทวารและมะเร็งลำไส้น้อยมาก เพราะกินอาหารหยาบมีกากมาก ท้องไม่ผูก ตรงข้ามกับฝรั่งที่กินอาหารละเอียด เป็นริดสีดวงทวารและมะเร็งลำไส้มาก ผู้ชายแอฟริกันที่อยู่ในแอฟริกามีเซลล์มะเร็งในต่อมลูกหมากประมาณครึ่งหนึ่ง แต่ไม่เป็นอะไร ตรงข้ามกับคนแอฟริกันที่อยู่ในอเมริกา กินอาหารแบบอเมริกัน ...
  • ขนมหลอกเด็ก

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 303 กรกฎาคม 2547
    ขนมหลอกเด็กหมอชาวบ้านฉบับนี้นำเอาเรื่อง "ขนมเด็ก" มาเป็นเรื่องขึ้นปก เพราะเป็นเรื่องที่มีความสำคัญมาก สมัยนี้พ่อแม่ไม่ค่อยมีเวลาเลี้ยงลูก จึงปล่อยให้โทรทัศน์เป็นผู้เลี้ยงลูก แล้วคุณค่าสมัยนี้คือ ทุนนิยม หรือเงินนิยม คือ "ทำอะไรก็ได้ขอให้ได้เงินมากที่สุด" เมื่อถือว่าทำอะไรก็ได้ขอให้ได้เงินมากที่สุด เพราะฉะนั้นก็ทำทุกอย่างให้ได้เงิน โดยไม่คำนึงถึงว่าจะทำร้ายคนอื่นหรือไม่ ...
  • แม่ คือจิตวิญญาณ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 304 กรกฎาคม 2547
    แม่ คือจิตวิญญาณหมอชาวบ้านฉบับนี้ตรงกับเดือนสิงหาคม อันเป็นเดือนแห่งวันเฉลิมพระชนมพรรษาของสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ คือ 12 สิงหาคม และปีนี้มีความเป็นพิเศษที่ทรงเจริญพระชนมายุครบ 6 รอบนักษัตรอันโบราณถือเป็นมงคล หมอชาวบ้านขอร่วมกับประชาชนไทยถวายพระพรให้ทรงพระเกษมสำราญ และมีพระชนมายุยิ่งยืนนานคนไทยได้ให้คุณค่าแก่วันเฉลิมพระชนมพรรษาของสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถว่าเป็น ...
  • สปา-สัปปาย์

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 302 มิถุนายน 2547
    สปา-สัปปาย์ประเวศ วะสีสปาเพื่อสุขภาพกำลังได้รับความนิยมมากขึ้น หมอชาวบ้านจึงนำมาเป็นเรื่องขึ้นปกฉบับนี้ ขอเชิญหาความหมายว่ามันคืออะไร ในทางธรรมะมีคำว่า สัปปายะ หมายถึงสภาพแวดล้อมที่เอื้ออำนวยต่อการเจริญธรรม เช่น สถานที่ที่สงบสบาย ไม่ร้อนจัดไม่หนาวจัด อาหารการกินไม่ลำบากเกิน ที่จริงคำว่า สัปปายะ ก็คือสบายนั่นแหละ แต่ไม่ใช่สบายเพื่อขี้เกียจ หรือสบายเพื่อให้เกิดกิเลส ...
  • หนึ่งศตวรรษ : ศาสตราจารย์นายแพทย์ประเสริฐ กังสดาลย์ ปรมาจารย์ทางอายุรศาสตร์ของไทย

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 300 เมษายน 2547
    หนึ่งศตวรรษ : ศาสตราจารย์นายแพทย์ประเสริฐ กังสดาลย์ ปรมาจารย์ทางอายุรศาสตร์ของไทยศาสตราจารย์นายแพทย์ประเสริฐ กังสดาลย์ อดีตหัวหน้าแผนกอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ได้รับการยกย่องจากลูกศิษย์ว่าเป็นปรมาจารย์ทางอายุรศาสตร์ของไทย Sir William Osler ได้รับการยกย่องว่าเป็นปรมาจารย์ทางอายุรศาสตร์ของอังกฤษ-อเมริกา-แคนาดา ฉันใด ศาสตราจารย์นายแพทย์ประเสริฐ กังสดาลย์ ก็คือ วิลเลียม ออสเลอร์ ...
  • «
  • ‹
  • …
  • 6
  • 7
  • 8
  • 9
  • 10
  • 11
  • 12
  • 13
  • 14
  • …
  • ›
  • »
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • สุขกาย-สบายใจ
  • สุขภาพกับความงาม
  • สุขภาพของช่องปาก
  • สุขภาพดี
  • สุขภาพปากและฟัน
  • สุขภาพผู้สูงอายุ
  • สุขภาพเป็นเรื่องง่าย
  • สู่โลกสีเขียว
  • หญิงอ่านดี..ชายอ่านได้
  • หน้าต่างวิจัย
  • หมอตุ๋ยคุยเรื่องฟัน
  • หมอพันธุ์ใหม่กับการสร้างเสริมสุขภาพ
  • ออกกำลังกาย
  • อาชีวเวชศาสตร์ปริทัศน์
  • อาหารปลอดสารพิษ
  • ‹‹
  • 10 จาก 14
  • ››

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa