-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
299
มีนาคม 2547
การพัฒนาที่ชีวิตปลอดภัยโรคซาร์ส ไข้หวัดนก อุบัติเหตุ โรคเอดส์ สารเคมีท่วมแผ่นดิน เป็นต้น เหล่านี้ล้วนบ่งว่าชีวิตไม่ปลอดภัย ถ้าใครเข้าใจธรรมชาติของไวรัส และสังคมก็จะรู้ว่าจะมีโรคระบาด ซ้ำๆ ซากๆ และอาจรุนแรงกว่าเดิม เพราะไวรัสที่อยู่ในสัตว์ในพืชกลายพันธุ์ (mutate) ตลอดเวลา และก็จะกลายเป็นพันธุ์ที่เข้าสู่คนและทำให้เป็นโรคในคนได้ เช่น เชื้อเอชไอวี ที่ทำให้เป็นโรคเอดส์เดิมอยู่ในลิง ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
298
กุมภาพันธ์ 2547
สวนปฏิบัติธรรมทุ่งไผ่การพัฒนาจิตเพื่อสุขภาพ มีประโยชน์ยิ่ง จิตที่เข้าถึงธรรมนอกจากให้ความสุขอันประณีต แล้วยังทำให้ภูมิคุ้มกันของร่างกายเพิ่มขึ้น ป้องกันการเป็นโรคต่างๆ เช่น โรคติดเชื้อ โรคภูมิแพ้ โรคมะเร็ง เป็นอะไรก็หายง่าย การเข้าถึงธรรมจึงทำให้มีสุขภาวะและอายุยืน ฉะนั้น การปฏิบัติธรรมด้วยการเจริญกรรมฐานจึงควรเป็นวิถีชีวิต ทุกคนควรจะฝึกและเจริญสติ เจริญสมาธิ เจริญปัญญาเป็นประจำ ในต่างประเทศ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
297
มกราคม 2547
ส.ค.ส. ๒๕๔๗ ความสุขฉับพลันเนื่องในโอกาสขึ้นปีใหม่ ขออวยพรให้ผู้อ่านและผู้เกี่ยวข้องทุกคนที่ผลิตและส่งหมอชาวบ้านไปถึงผู้อ่านมีความสุขตลอดปี ๒๕๔๗ ที่โชคร้ายก็ขอให้กลายเป็นโชคดี ท่านผู้ใดที่โชคดีอยู่แล้วก็ขอให้โชคดียิ่งๆ ขึ้นและมีไมตรีจิตต่อผู้อื่น ขอให้พบวิธีสร้างความสุขฉับพลัน (Instant Happiness) ขณะนี้เขามีอินสแตนต์คอฟฟี่ อินสแตนต์มะตูม และอินสแตนต์อื่นๆ กัน ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
296
ธันวาคม 2546
การตายอย่างมีสุขภาวะหมอชาวบ้านฉบับธันวาคม ๒๕๔๖ มีเรื่องเด่นในฉบับคือเรื่อง "ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะใกล้ตาย" โดยอาจารย์ พญ.สุมาลี นิมมานนิตย์ อดีตหัวหน้าภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ขณะนี้มีข้อเขียนเกี่ยวกับการตายมากขึ้น โดยเฉพาะจากอาจารย์พุทธศาสนาสายทิเบต ซึ่งเป็นเรื่องที่ดี อาจารย์สุมาลีจุดเด่นที่เป็นแพทย์ที่เห็นการตายมามาก และเป็นผู้ที่สนใจในธรรมปฏิบัติ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
292
สิงหาคม 2546
สุขภาวะจากการเข้าถึงธรรมชาติคําว่า ธรรม หรือ ธัมม ที่ชาวอินเดียใช้กันแต่ก่อนพุทธกาล เป็นคำแปลกที่สะท้อนวิธีคิดของคนที่นั่นสมัยนั้น หมายถึง ธรรมชาติที่เป็นรูปธรรมก็ได้ นามธรรมก็ได้ ในทางที่ดีก็ได้ ในทางไม่ดีก็ได้ ในทางกลางๆ ก็ได้ ดังที่พระสวดว่ากุสลา ธัมมา =ธรรมที่เป็นกุศล (ก็ดี)อกุสลา ธัมมา=ธรรมที่เป็นอกุศล (ก็ดี)อพยากตา ธัมมา=ธรรมที่เป็นกลางๆ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
291
กรกฎาคม 2546
ความรุนแรงของวัยรุ่นกับการปฏิรูปการศึกษาเมื่อเร็วๆ นี้ มีเรื่องที่ก่อให้เกิดความสลดใจไปตามๆ กัน ที่นักเรียนวัยรุ่นยิงเพื่อนนักเรียนที่ปากพนัง นครศรีธรรมราช และอีกคนหนึ่งแถวพัฒนาการที่ยิงยายและลุงของอดีตแฟนสาวและยิงตัวตาย เคยคิดกันบ้างไหมว่าการศึกษาอย่างที่มีอยู่ในโลกอย่างปัจจุบันเป็นต้นเหตุของวิกฤติการณ์ในชีวิตและสังคมกันทั่วไปหมดทั้งโลก เพราะเป็นการศึกษาที่ทอดทิ้งชีวิตไปเอา "วิชา" ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
290
มิถุนายน 2546
โรคซาร์สกับการเปลี่ยนวิถีคิดของมนุษย์โรคซาร์สเกิดจากไวรัสไวรัสเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีขนาดเล็กมาก ประกอบด้วยดีเอ็นเอ (DNA) หรืออาร์เอ็นเอ (RNA) มีอยู่ในพืช สัตว์ คน ตามปกติไวรัสจากพืชหรือสัตว์ไม่ติดมาที่คน แต่ไวรัสมัน กลายพันธุ์ได้ แล้วตัวใหม่ตัวใดตัวหนึ่งเกิดติดต่อเข้าคน แล้วทำให้เกิดโรคร้ายแรง เช่น เอดส์ ซาร์ส และต่อๆ ไปก็จะมีตัวอื่นๆ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
289
พฤษภาคม 2546
หวัดมรณะ สุขภาพเหนือเศรษฐกิจโรคหวัดมรณะ หรือ ซาร์ส (severe acute respiratory syndrome) ระบาดทำให้เห็นความจริงที่สำคัญที่บางครั้งเราไม่ค่อยสำนึก นั่นคือ สุขภาพมีความสำคัญเหนือเศรษฐกิจ เพราะกระทบกิจกรรมทางเศรษฐกิจทั้งหมด กระทบจีดีพี ถ้าเอาเศรษฐกิจเป็นตัวตั้ง เช่นปิดบังไว้เพราะกลัวกระทบการท่องเที่ยว ผู้คนก็จะล้มตายเป็นเบือโลกขณะนี้เอาเศรษฐกิจเป็นความสำคัญสูงสุด ทำให้แย่งชิงกัน ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
228
เมษายน 2546
๙๔ ชีวิต สู่แดนพุทธภูมิระหว่าง ๑๙ กุมภาพันธ์ - ๔ มีนาคม ๒๕๔๖ กลุ่มแพทย์ พยาบาล และสัมมาอาชีวะอื่นๆอันหลากหลาย รวม ๙๔ ชีวิต ภายใต้การนำของนายแพทย์โรจน์รุ่ง สุวรรณสุทธิ ได้เดินทางไปสักการะสังเวชนียสถาน ๔ แห่ง ในประเทศอินเดียและเนปาล เริ่มแต่วัดอโศการาม เมืองปฏลีบุตร (ชื่อเก่า) ที่ทำสังคายนาพระไตรปิฎกครั้งที่ ๓ นาลันทา บ้านเกิดพระสารีบุตร วัดเวฬุวัน เมืองราชคฤห์ ซึ่งเป็นวัดแห่งแรกในพระพุทธศาสนา ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
287
มีนาคม 2546
"สันติภาพคือสุขภาพ สงครามคือทุกขภาพ" ผมขอนำคำกล่าวเปิดงานชุมนุมเพื่อสันติภาพมาลงไว้ในคุยกับผู้อ่าน คำกล่าวเปิดงานชุมนุมเพื่อสันติภาพ ศาสตราจารย์นายแพทย์ประเวศ วะสีณ วันนี้ วันที่ ๑๕ กุมภาพันธ์ ระหว่างวันวาเลนไทน์และวันมาฆบูชา ประชาชนในประเทศต่างๆ ทั่วโลกพร้อมใจกันชุมนุมเพื่อเรียกร้องสันติภาพ ...