Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » คอลัมน์ » คุยกับผู้อ่าน

คุยกับผู้อ่าน

  • วิชาวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสาร

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 335 มีนาคม 2550
    วิชาวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารในระบบเศรษฐกิจแบบบริโภคนิยม เศรษฐกิจอยู่ได้ด้วยการกระตุ้นให้ประชาชนบริโภคมากๆ โดยโฆษณาจูงใจทุกรูปแบบ ฉะนั้น วิทยุและโทรทัศน์จึงเต็มไปด้วยการปลุกระดม เรียกว่าตลอดเวลา 24 ชั่วโมง เฉพาะขนมหลอกเด็ก พวกลูกกวาด ลูกอม น้ำหวานหลากสีหลากรูปแบบ หลอกเอาเงินจากพ่อแม่ของเด็กไปประมาณปีละ 170,000 ล้านบาท และทิ้งปัญหาสุขภาพไว้ เพราะการกินหวาน นอกจากทำให้ฟันผุแล้ว ...
  • การเสพติดและชีวิต ในสังคมไทย

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 334 กุมภาพันธ์ 2550
    การเสพติดและชีวิต ในสังคมไทยเมื่อกว่า 20 ปีก่อน เราเคยรณรงค์ให้เอากาเฟอีนออกจากยาแก้ปวดเรื่องมีอยู่ว่าบริษัทยาได้ผลิตยาแก้ปวดที่มีสูตรผสมเป็นเอพีซี ซึ่งประกอบแอสไพริน (Aspirin) ฟีนาซีทิน (Phenacetin) + กาเฟอีน (Caffeine) ในชื่อการค้าต่างๆ ปรากฏว่าชาวไร่ชาวนาติดยานี้กันเป็นอันมาก บางคนกินถึง 4-5 ซองในวันหนึ่งๆ หลายคนมีอาการตกเลือดจากกระเพาะอาหาร ...
  • ความสุขปีใหม่ 2550

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 333 มกราคม 2550
    ความสุขปีใหม่ 2550เนื่องในโอกาสส่งท้ายปีเก่า 2549 และต้อนรับปีใหม่ 2550 ผมขออวยพรให้ท่าน ผู้อ่านหมอชาวบ้าน และผู้ร่วมผลิตหนังสือในเครือหมอชาวบ้านทุกท่านมีความสุขความเจริญประกอบด้วย อายุ คืออายุยืนยาววัณโณ คือมีผิวพรรณผ่องใส ไม่เศร้าหมอง สุขัง คือมีความสุข พลัง ประกอบด้วยพลังกาย พลังใจ พลังสังคม และพลังปัญญา ขอจงมีเมตตาต่อกันและกัน มีน้ำใจต่อกัน ...
  • สร้างสปิริตแห่งการเป็นอาสาสมัคร ให้เต็มแผ่นดิน

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 332 ธันวาคม 2549
    สร้างสปิริตแห่งการเป็นอาสาสมัคร ให้เต็มแผ่นดินหมอชาวบ้านฉบับนี้ นำชีวิต-งาน-ทรรศนะ ของ พ.ท.สรศักดิ์ รอดโต ผู้ที่อ่านนิตยสารหมอชาวบ้าน ฉบับที่ 1 แล้วเกิดแรงบันดาลใจที่จะช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์ ได้เป็นอาสาสมัครอยู่ที่โรงพยาบาลพระนั่งเกล้า ที่นั่นปัจจุบันมีอาสาสมัครเพื่อผู้ป่วย 76 คนในสังคม ไม่ว่าจะมีองค์กรหรือสถาบัน มากเท่าใด ก็จะมีช่องว่างอยู่เสมอ เช่นที่ ...
  • การออกกำลังป้องกันโรคกระดูกพรุน

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 330 ตุลาคม 2549
    การออกกำลังป้องกันโรคกระดูกพรุนในปัจจุบันมีคนเป็นโรคกระดูกพรุนกันมาก เพราะขาดการออกกำลัง กระดูกที่อยู่เฉยๆ จะพรุน แต่ถ้าต้องรับน้ำหนักหรือถูกดึงจะไปกระตุ้นเซลล์สร้างกระดูกที่เรียกว่า ออสทีโอบลาสต์ (osteoblast) ให้ทำงานหญิงสูงอายุในเมืองจะเป็นโรคกระดูกหักง่าย โดยเฉพาะที่ข้อสะโพก แต่พวกย่า พวกยาย ตามท้องไร่ท้องนากระดูกแข็งไม่หักง่าย สมัยนี้มีการใช้ฮอร์โมนบ้าง แคลเซียมบ้าง ...
  • เด็ก เยาวชน และครอบครัว

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 329 กันยายน 2549
    เด็ก เยาวชน และครอบครัวครอบครัวเป็นสถาบันทางสังคมที่สำคัญที่สุด ถ้าครอบครัวอบอุ่น คือ พ่อ แม่ ลูก มีเวลาอยู่ด้วยกันมากๆ และอยู่ด้วยกันด้วยดี ทุกคนจะมีความสุขอย่างยิ่ง ในสังคมวัตถุนิยม บริโภคนิยม และเงินนิยม ที่ทุกอย่างเร่งรีบ ตัวใครตัวมัน ไม่มีใครมีเวลาที่จะเอาใจใส่ใคร และวิถีทางเศรษฐกิจปัจจุบันที่ไม่คำนึงถึงสังคม ก็ทำให้ครอบครัวอ่อนแอลงหรือถึงแตกสลาย ครอบครัวควรจะเป็นอู่ที่มนุษย์รู้สึกอบอุ่น ...
  • แอสไพริน อันตราย

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 329 กันยายน 2549
    แอสไพริน อันตราย"สั่งคุมใช้ยาแอสไพรินในเด็ก หลังหนูน้อยที่ลพบุรีเสียชีวิต"เมื่อกลางเดือนสิงหาคมที่ผ่านมา มีข่าวเด็กหญิงอายุ ๙ ขวบ ที่จังหวัดลพบุรี ป่วยเป็นไข้หวัดใหญ่เสียชีวิตจากการใช้แอสไพรินลดไข้ จนกลายเป็นโรคเรย์ซินโดรม (Reye's Syndrome) แทรกซ้อน เกิดอาการตับวาย ทางกระทรวงสาธารณสุขจึงมีนโยบายและมาตรการในการควบคุมการใช้แอสไพริน สำหรับบรรเทาอาการไข้ในเด็กแอสไพริน (aspirin) ...
  • หลักการกิน ๕ ประการ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 329 กันยายน 2549
    หลักการกิน ๕ ประการถ้าเปรียบโลกเป็นบ้านหลังหนึ่ง ประเทศไทยคงเปรียบได้กับห้องครัว เพราะเป็นแหล่งผลิตอาหารของโลก (ทำนองครัวไทย สู่ครัวโลก) ไม่น่าเชื่อว่าประเทศไทยซึ่งเป็นประเทศเล็กๆ จะสามารถส่งออกอาหารได้เป็นอันดับต้นๆ ของโลก เพราะพื้นที่เกือบทั้งประเทศเหมาะสมกับการเกษตร แต่น่าเสียดายที่อาหารถูกจำกัดด้วยเวลา เก็บไว้นานไม่ได้ คุณภาพของสินค้าไม่สูงคล้ายสินค้าอุตสาหกรรม ...
  • ให้เลือดตัวเอง ความปลอดภัยที่คุณเลือกได้

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 329 กันยายน 2549
    ให้เลือดตัวเอง ความปลอดภัยที่คุณเลือกได้การได้รับเลือดจากผู้อื่น แม้จะมีมาตรฐานด้านคุณภาพดีเพียงใด ก็ไม่อาจพูดได้ว่า "ได้เลือดปลอดภัยร้อยเปอร์เซ็นต์" เพราะเทคโนโลยีการตรวจทางห้องปฏิบัติการยังมีข้อจำกัดความไม่ปลอดภัยส่วนหนึ่งเกิดจากการได้รับเชื้อโรคที่ติดต่อจากการให้เลือด นอกจากนั้นยังเกิดจากปฏิกิริยาจากหมู่เลือดและแอนติบอดี หมู่เลือดหลักของคนที่สำคัญคือ ระบบ A B O ...
  • บัตรทอง คุ้มครองผู้ป่วยโรคฮีโมฟีเลีย

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 329 กันยายน 2549
    บัตรทองคุ้มครองผู้ป่วยโรคฮีโมฟีเลีย"ฮีโมฟีเลีย" หรือ "โรคเลือดออกง่ายหยุดยาก" เป็นโรคที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรมจากแม่สู่ลูกผู้เป็นโรคนี้เลือดจะออกง่ายและหยุดยาก โดยเฉพาะในข้อหรือกล้ามเนื้อคนไทยกว่า ๔,๐๐๐ คนกำลังผจญโรคนี้ โรคเลือดออกง่ายหยุดยากมี ๒ ชนิดคือ โรคฮีโมฟีเลียเอ (พบมากกว่า) เกิดจากการขาดปัจจัยการแข็งตัวในเลือดชื่อว่าแฟกเตอร์แปด และโรคฮีโมฟีเลียบี ...
  • «
  • ‹
  • …
  • 2
  • 3
  • 4
  • 5
  • 6
  • 7
  • 8
  • 9
  • 10
  • …
  • ›
  • »
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • ปัญหาวิชาการ
  • ปิยวาจาทางคลินิก
  • ผิวพรรณความงาม
  • ผิวสวย หน้าใส
  • ผู้สูงอายุ…สู่ชีวิตที่มีคุณภาพ
  • ผู้หญิงกับความงาม
  • พยาบาลในบ้าน
  • พันธุ์ดี..พันธุ์ศาสตร์ในชีวิตประจำวัน
  • พิเศษวันเด็ก
  • พืช-ผัก-ผลไม้
  • พูดคนละภาษา
  • พูดจาประสาหมอๆ
  • พูดจาภาษายา
  • พูดจาภาษาหมอ
  • พ่อ-แม่-ลูก
  • ‹‹
  • 6 จาก 14
  • ››

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa