อื่น ๆ

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 71 มีนาคม 2528
    การสูบบุหรี่อาจเป็นอันตรายอย่างยิ่งต่อสุขภาพของท่านควันยาสูบมีสารเคมีที่เป็นอันตรายอยู่ 3 ชนิดด้วยกันคือ ทาร์ (ถ่าน) นิโคติน และคาร์บอนมอนนอกไซด์ ทาร์ คือส่วนผสมของสารเข้มข้นหลายประเภท ที่เกาะตัวกันเหนียวมีลักษณะคล้ายน้ำเชื่อมอยู่ในปอด นิโคตินคือยาเสพย์ติดชนิดหนึ่งซึ่งปอดดูดซึมได้ และมีปฏิกิริยาต่อระบบประสาทโดยตรง ส่วนคาร์บอนมอนนอกไซด์ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 71 มีนาคม 2528
    หากคุณเข็ดขยาดกับช่วงเวลาในรอบเดือน ซึ่งก่อความไม่สะดวกสบายให้คุณ ลองบริหาร ร่างกายในท่าง่าย ๆ ต่อไปนี้ เพื่อช่วยขจัดอาการปวดให้หมดไป“ดีสมีนอเรีย ” (Dysmenorrhea) คือชื่อทางการแพทย์ของอาการปวดในรอบเดือน แต่แพทย์ยังหาสาเหตุที่แท้จริงของอาการปวดนี้ไม่ได้ และไม่สามารถตอบได้ว่าเหตุใดผู้หญิงบางคนจึงปวดมากกว่าคนอื่น ที่แน่ๆ ก็คือทุก ๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 70 กุมภาพันธ์ 2528
    ในภาคแรกผู้เขียนได้กล่าวถึงว่าเอ็นดอร์ฟินส์ หรือ “ฝิ่นภายใน” คืออะไร มีความเป็นมาอย่างไรตลอดจนการใช้อธิบายปรากฏการณ์บางอย่างในร่างกาย อย่างเรื่องของความเจ็บปวด คราวนี้จะได้พูดกันต่อไปถึงบทบาทของ “ฝิ่นภายใน” ที่เราเอาไปใช้ประโยชน์ ในแง่การนำ “ฝิ่นภายใน” มาใช้อธิบายเรื่องดี ๆ ก็เช่น การวิปัสสนา การออกกำลังกาย การอดยาเสพย์ติด ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 69 มกราคม 2528
    ประเทศไทยในวันหนึ่ง ๆ มีผู้เจ็บไข้ได้ป่วยประมาณ 2 ล้านคนท่านทราบไหมว่าจากจำนวน 2 ล้านคนนี้ ส่วนน้อยนิดเดียวเท่านั้นที่ไปหาหมอหรือไปโรงพยาบาลได้ พวกที่ได้ไปก็ต้องเข้าคิวรอแทนล้มประดาตาย เจอหมอก็เพียงนาทีสองนาที ยังไม่ทันจะเล่าอะไรให้สมอยาก ก็ได้รับใบสั่งยาให้ไปเข้าคิวเอายาเสียแล้ว ถ้าซวยหน่อยก็ถูกดุถูกตวาดแถมมาด้วยเหมือนอย่างกับไปขอทานบริการ คนส่วนใหญ่ ไม่สามารถไปหาหมอหรือไปโรงพยาบาลได้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 68 ธันวาคม 2527
    พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเป็นแกนหลักของชาติการสาธารณสุขมูลฐาน เป็นแกนหลักของการสาธารณสุขของประเทศข้อความสองบรรทัดแรกไม่จำเป็นต้องอธิบายแต่บรรทัดที่เหลืออาจต้องอธิบายขยายความ ดังนี้1.การแพทย์ การแพทย์ไม่ว่าของระบบใด ๆ เกิดขึ้นจากความพยายามที่จะเยียวยารักษาโรค เนื่องจากความเจ็บไข้ได้ป่วยของมนุษยชาติ2.การสาธารณสุข ขณะที่การแพทย์เน้นที่การตรวจรักษา ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 67 พฤศจิกายน 2527
    ในสองตอนที่แล้วได้พูดถึงว่าการสอบถามบรรดานักวิ่ง ในเรื่องชีวิตเพศให้ผลออกมาอย่างไร และมีฮอร์โมนกันสารกับสารเคมีตัวใดที่เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ขึ้นในตัวนักวิ่งบ้าง วันนี้เราจะพูดถึงเรื่องเบา ๆ คือในแง่ศิลปปรัชญามากกว่าวิทยาศาสตร์ นักวิ่งมองตนเองว่าเป็นนักรักไปด้วยได้อย่างไรนักวิ่งมีความฟิตสูงความฟิตในทีนี้ไม่ใช่ฟิตแบบเตะปี๊ปดัง แต่หมายถึงความแข็งแรงของร่างกายกิจกรรมทางเพศ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 66 ตุลาคม 2527
    ปราชญ์นิรนามกล่าวไว้ว่า “ความรักทำให้โลก (เบี้ยว ๆ บูด ๆ ลูกนี้) หมุนไปได้ ความใคร่ทำให้การหมุนนี้มีพลัง”ในตอนที่แล้ว เราได้พูดกันถึงเรื่องการวิ่งว่าเกี่ยวข้องกับชีวิตเพศอย่างไร หลักฐานที่มีอยู่แสดงว่าการวิ่งในขนาดที่พอเหมาะทำให้ชีวิตเพศดีขึ้นหรือใครที่ยังข้องใจลองฟังเรื่องจริงที่ไม่อิงนิยายนี้ดูเรื่องนี้เล่าโดย นายแพทย์อุดมศิลป์ ศรีแสงนาม จิตแพทย์นักวิ่งชื่อดัง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 66 ตุลาคม 2527
    คนทั่วไปมีจำนวนไม่น้อยที่ปกติไม่ได้ออกกำลังกาย และโดยเฉพาะเมื่อมีโรคประจำตัว ยิ่งไม่กล้าออกกำลังกายเข้าไปอีก เพราะคิดว่า จะมีผลกระทบกระเทือนต่อสุขภาพมากขึ้นผู้เขียนเขียนบทความชิ้นนี้เพื่อเสนอแนวทางการออกกำลังกายสำหรับคนเป็นโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน เพราะเห็นว่า ผู้ป่วยด้วยโรคทั้งสองมีจำนวนมาก อย่างไรก็ตามขอให้เข้าใจว่า ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 65 กันยายน 2527
    โรคปวดข้ออะไรเอ่ย ที่ท่านไม่ได้เป็น แต่มักจะถูก (ท่านหรือคนอื่น) เข้าใจผิดว่าเป็นคำตอบก็คือ โรครูมาตอยด์ นี่เองท่านผู้อ่านจำนวนมากอาจจะเคยได้ยินชื่อโรครูมาตอยด์ มาบ้างแล้ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ที่เคยปวดข้อหรือมีญาติพี่น้องคนรู้จักเป็นโรคปวดข้อ แล้วมักจะมีใครสักคนบอกท่านว่า เป็นโรครูมาตอยด์ และต่อด้วยความว่า เป็นโรคเรื้อรัง รักษาไม่หาย (ฟังแล้วก็ใจหาย) ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 64 สิงหาคม 2527
    ...