การรักษาเบื้องต้น (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)

  • วารสารคลินิก 269 พฤษภาคม 2550
    ในกลุ่มผู้ป่วยด้วยโรคที่หมดหวัง โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มที่มีอาการระยะสุดท้าย จะมีอาการที่พบบ่อยซึ่งก่อความทุกข์ทรมานให้ผู้ป่วยและญาติได้มาก คือ อาการคลื่นไส้อาเจียน ซึ่งพบบ่อยถึงร้อยละ 50-70 ...
  • วารสารคลินิก 269 พฤษภาคม 2550
        ภาพที่ 1. กลไกการทำงานของ RNA ...
  • วารสารคลินิก 267 มีนาคม 2550
    เซลล์ต้นกำเนิด (stem cell) มีแหล่งที่มาหลายชนิด ได้แก่ ตัวอ่อนทารก, เลือดสายสะดือ และร่างกายผู้ใหญ่. คุณสมบัติที่น่าสนใจคือ สามารถใช้ในการรักษาโรคต่างๆ ได้. ตัวอย่างเช่น Parkinson' disease, Congenital immunodeficiencies, Haemoglobinopathies,1 spinal cord injuries เป็นต้น.2ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมาเลือดสายสะดือเป็นแหล่งทางเลือกของเซลล์ต้นกำเนิดชนิด haematopoietic ...
  • วารสารคลินิก 267 มีนาคม 2550
    บทนำการปลูกถ่ายไขกระดูก (Bone marrow transplantation) รักษาผู้ป่วยโดยใช้เซลล์ต้นกำเนิดเม็ดโลหิต (Hematopoietic stem cell) จากพี่น้องที่มีหมู่เนื้อเยื่อ HLA (Human leukocyte antigen) ตรงกัน เป็นที่ยอมรับในวงการแพทย์ว่า เป็นวิธีการที่ประสบความสำเร็จในการรักษาเด็กและผู้ใหญ่ที่ป่วยเป็นโรคอันตรายหลายชนิด อาทิเช่น โรคมะเร็งที่มีความเสี่ยงหรือมีโอกาสกำเริบสูง โรคภูมิคุ้มกันบกพร่องแต่กำเนิด ...
  • วารสารคลินิก 238 ตุลาคม 2547
    หลังจากที่ทีมกู้ชีพขั้นต้นให้การกู้ชีพแล้ว ทีมกู้ชีพขั้นสูงเมื่อไปถึง นอกจากยืนยันขั้นตอน ABC (airway-breathing-chest compression) แล้ว รีบให้ออกซิเจน ติดเครื่องเฝ้าคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (ECG monitor) และเตรียมเครื่องช็อกหัวใจ (defibrillator) ด้วย แล้ววิเคราะห์จังหวะหัวใจเต้น. ภาวะหัวใจเต้นผิดปกติภาวะหัวใจเต้นผิดปกติในเด็กเกือบทั้งหมดไม่ได้เกิดจากโรคหัวใจโดยตรง (เช่น กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ/พิการ ...