การรักษาเบื้องต้น (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)

  • วารสารคลินิก 281 พฤษภาคม 2551
    Disclaimer : รายงานการศึกษาวิจัยทางการแพทย์มีมากมายมหาศาล ในขณะนี้เป็นสิ่งที่ต้องติดตามเป็นอย่างยิ่ง คอลัมน์นี้ได้สรุปรายงานการศึกษาที่น่าสนใจที่ลงในวารสารทางการแพทย์ที่ผ่าน peer review มาให้สมาชิกทราบ แต่ข้อพึงระวังคือ ไม่ใช่ว่าทุกอย่างที่มีการรายงานการศึกษาจะมีความถูกต้องเป็น สัจจะ เพราะไม่มีอะไรถูกต้องร้อยเปอร์เซ็นต์ ในทางการแพทย์ ความรู้ ความเชื่อ ณ วันนี้อาจได้การยอมรับ แต่ความรู้ใหม่ๆ ...
  • วารสารคลินิก 280 เมษายน 2551
    การบาดเจ็บจากการถูกสัตว์หรือมนุษย์กัดเป็นปัญหาที่พบบ่อยในห้องฉุกเฉิน. ในประเทศสหรัฐอเมริกา พบการเข้าใช้บริการในห้องฉุกเฉินเนื่องจากถูกสัตว์กัดประมาณร้อยละ 1 ต่อปี1-4 ที่ห้องฉุกเฉินโรงพยาบาลรามาธิบดีพบประมาณเดือนละ 60 ราย คิดเป็นประมาณร้อยละ 1 เช่นกัน. สถิติการถูกกัดที่แท้จริงย่อมมากกว่านี้ เนื่องจากหลายครั้งที่ถูกกัดแล้วผู้ ถูกกัดไม่ได้มาพบแพทย์. ...
  • วารสารคลินิก 280 เมษายน 2551
    ฉบับที่แล้วผมเล่าถึงประวัติศาสตร์ของอหิวาตกโรค ฉบับนี้จึงขอเล่าถึงวิวัฒนาการการรักษาผู้ป่วยโรคอุจจาระร่วงว่ามีที่มาที่ไปอย่างไร ลองติดตามกันดูครับการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำในช่วงปี ค.ศ. 1829-1831 อหิวาตกโรค (cho-lera) ระบาดไปทั่วยุโรปทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตจำนวนไม่น้อยจนเป็นแรงกระตุ้นให้มีการศึกษาโรคนี้อย่างจริงจัง. วันที่ 7 มกราคม ค.ศ. 1832 William Brooke O'Shaughnessy (1808-1889) ...
  • วารสารคลินิก 280 เมษายน 2551
    Disclaimer : รายงานการศึกษาวิจัยทางการแพทย์มีมากมายมหาศาล ในขณะนี้เป็นสิ่งที่ต้องติดตามเป็นอย่างยิ่ง คอลัมน์นี้ได้สรุปรายงานการศึกษาที่น่าสนใจที่ลงในวารสารทางการแพทย์ที่ผ่าน peer review มาให้สมาชิกทราบ แต่ข้อพึงระวังคือ ไม่ใช่ว่าทุกอย่างที่มีการรายงานการศึกษาจะมีความถูกต้องเป็นสัจจะ เพราะไม่มีอะไรถูกต้องร้อยเปอร์เซ็นต์ ในทางการแพทย์ ความรู้ ความเชื่อ ณ วันนี้อาจได้การยอมรับ แต่ความรู้ใหม่ๆ ...
  • วารสารคลินิก 279 มีนาคม 2551
    การวินิจฉัยการวินิจฉัยจำเป็นต้องอาศัยประวัติ การตรวจร่างกาย และการตรวจพิเศษเพิ่มเติมดังนี้1. ประวัติ ควรจะได้ประวัติจากคู่นอน หรือครอบครัวของผู้ป่วยด้วย เพราะผู้ป่วยมักจะไม่รู้อาการที่เกิดขึ้นขณะที่ตนหลับ อาจได้ประวัติว่ากรนหรือหายใจเสียงดัง มีช่วงหยุดหายใจ (witnessed apnea) หรือหายใจไม่สม่ำเสมอ. หลังหยุดหายใจ อาจสะดุ้งตื่นหรือพลิกตัว นอนกระสับกระส่ายมาก เหงื่อออกผิดปกติขณะหลับ ...
  • วารสารคลินิก 279 มีนาคม 2551
    วิธีทางกายภาพที่ใช้รักษาโรคสิว (Physical Procedures for Treating Acne) นอกจากการใช้ยาทาและยาชนิดกินรักษาโรคสิวที่ได้กล่าวไปแล้ว ยังมีวิธีทางกายภาพที่ใช้รักษาโรคสิวและรอยแผลเป็นจากสิว ดังนี้1. การลอกผิวหนังด้วยสารเคมี (chemical peels)เป็นเทคนิคที่นำมารักษาโรคสิวและรอยแผลเป็นสิวที่ใช้กันมาก สารเคมีที่ใช้ในการลอกผิวหนัง ได้แก่ กรดแอลฟาไฮดรอกซี (alpha hydroxy acid, AHA) ...
  • วารสารคลินิก 279 มีนาคม 2551
    "อีสานรวมมิตร" สรุปผลงานวิจัยเกี่ยวกับ นิ่วไต การรักษา และความสัมพันธ์กับการเสื่อมของไตเมื่อ 6 ปีที่ผ่านมาผู้เขียนได้นำเสนอเรื่อง กลุ่มอาการอีสานรวมมิตร ลงในวารสารคลินิก1 หลังจากนั้นก็ได้ทำการวิจัยเรื่องอีสานรวมมิตร นิ่วไต อีก 6-7 เรื่อง บางเรื่องก็ได้ตีพิมพ์แล้ว บางเรื่องก็ยังไม่ได้ตีพิมพ์ บางเรื่องเป็นประสบการณ์ทางคลินิก แต่เมื่อนำมาประกอบกันเป็นชิ้นส่วนของ Jig saw ...
  • วารสารคลินิก 278 กุมภาพันธ์ 2551
    อาการนอนกรน (snoring) เป็นปัญหาและความผิดปกติของการนอนหลับที่พบบ่อยในเวชปฏิบัติ. อาการนอนกรนเป็นอาการที่บ่งบอกถึงการอุดกั้นของทางเดินหายใจส่วนบน ซึ่งมีความสัมพันธ์โดยตรงต่อภาวะหยุดหายใจขณะหลับ (obstructive sleep apnea : OSA). ภาวะหยุดหายใจขณะหลับนี้เป็นภาวะที่มีการอุดกั้นในทางเดินหายใจมากจนกระทั่งทำให้เกิดการหยุดหายใจเป็นช่วงๆขณะนอนหลับ. อาการนอนกรน และภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับ ...
  • วารสารคลินิก 277 มกราคม 2551
    ในปัจจุบัน การแพทย์ที่ทันสมัยสามารถยื้อชีวิตของผู้ป่วยได้ยาวนานขึ้น แต่ก็ทำให้ เกิดข้อข้องใจในบรรดาผู้เกี่ยวข้องกับการดูแลผู้ป่วย โดยเฉพาะในรายที่เกิดภาวะ "เป็นผัก" (Persistent vegetative state-PVS). การยืดอายุด้วยเครื่องมือทางการแพทย์นานา ชนิดนั้นเหมาะสมหรือไม่ หรือจะใจร้ายเพิกเฉยไม่ใส่ใจดูแลเมื่อเห็นว่ารักษาไม่ได้ ถ้าเช่นนั้น การรักษา "คน" ที่เป็น "ผัก" ...
  • วารสารคลินิก 276 ธันวาคม 2550
    Disclaimer : รายงานการศึกษาวิจัยทางการแพทย์มีมากมายมหาศาล ในขณะนี้เป็นสิ่งที่ต้องติดตามเป็นอย่างยิ่ง คอลัมน์นี้ได้สรุปรายงานการศึกษาที่น่าสนใจที่ลงในวารสารทางการแพทย์ที่ผ่าน peer review มาให้สมาชิกทราบ แต่ข้อพึงระวังคือ ไม่ใช่ว่าทุกอย่างที่มีการรายงานการศึกษาจะมีความถูกต้องเป็นสัจจะ เพราะไม่มีอะไรถูกต้องร้อยเปอร์เซ็นต์ ในทางการแพทย์ ความรู้ ความเชื่อ ณ วันนี้อาจได้การยอมรับแต่ความรู้ใหม่ๆ ...