สร้างเสริมสุขภาพ 3 อ.​ และป้องกันโรค (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)

  • วารสารคลินิก 276 ธันวาคม 2550
    Metabolic syndrome คือกลุ่มความผิดปกติที่เป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดซึ่งพบร่วมกันได้บ่อย ความผิดปกติดังกล่าวได้แก่ความผิดปกติของไขมันในเลือด ความดันโลหิต ระดับน้ำตาล ตลอดจนปัจจัยที่เป็น prothrombotic และ proinflammatory. ผู้ที่เป็น metabolic syndrome จะเพิ่มโอกาสเสี่ยงในการเกิดโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และโรคหัวใจและหลอดเลือด. สาเหตุของ metabolic syndrome ...
  • วารสารคลินิก 275 พฤศจิกายน 2550
    ถ้าใครติดตามข่าวจากอินเทอร์เน็ต ในช่วง 2-3 เดือนที่ผ่านมา จะเห็นว่ามีข่าวเรื่อง "ผวาลูกชิ้นปลา" "งดหม่ำลูกชิ้นปลา" และยังมีข่าวว่า "พยาบาลสาว" โรงพยาบาลรัฐชื่อดังในกรุงเทพฯ กินปลาปักเป้าสังเวยไปแล้ว 1 ศพ และมีนิสิตแพทย์ อีก 3 คน กินปลาปักเป้าจนถูกหามเข้าห้องไอซียู. ต่อมามีฟอร์เวิร์ดเมลล์ระบุว่าเหตุการณ์ดังกล่าวเกิดขึ้นในโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ มีพยาบาลเสียชีวิต 1 ราย ...
  • วารสารคลินิก 275 พฤศจิกายน 2550
    12. ภัยพิบัติจราจรภัยพิบัติจราจร (traffic disaster) ในที่นี้หมายถึง ภาวะที่มีการบาดเจ็บล้มตายเป็นจำนวนมากจากอุบัติภัยในการเดินทางโดยยานพาหนะต่างๆ ทั้งทางบก ทางน้ำ และทางอากาศ จากการชนกัน การพลิกคว่ำ การตกราง(รถไฟ รถราง)/ตกเหว/ตกน้ำ/ตกสู่พื้นดิน การเกิดเพลิงไหม้ หรือการระเบิด (จากตัวเครื่องเอง/สิ่งของที่บรรทุกมา/การก่อการร้าย หรืออื่นๆ) เป็นต้นในประเทศไทย มีผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุจราจรประมาณ ...
  • วารสารคลินิก 274 ตุลาคม 2550
    จากการเฝ้าระวังของงานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544-2549 พบว่าในแต่ละปีจะพบผู้ป่วยจากการกินเห็ดพิษ และเสียชีวิต โดยพบในช่วงระหว่างเดือนพฤษภาคม-มิถุนายนของทุกปี เกิดที่อำเภอปัว ติดต่อกัน 4 ปี (พ.ศ. 2545, 2546, 2547, 2549) พบที่อำเภอนาหมื่น, สองแคว และเชียงกลางปีละ 1 ครั้ง โดยอำเภอปัว ปี พ.ศ. 2545 พบผู้ป่วย 19 ราย เสียชีวิต 3 ราย ปี พ.ศ. 2546 พบ 8 ราย เสียชีวิต 1 ...
  • วารสารคลินิก 274 ตุลาคม 2550
    ลองจินตนาการว่า ท่านเป็นแพทย์ ผู้เปี่ยมด้วยจิตอาสาที่จะช่วยเหลือผู้ป่วยซึ่งลมหายใจกำลังไหลรินลงบนธรณีประตูแห่งแดนมรณะ แต่ท่านกลับถูกมอบหมายให้ขนขยะเหม็นเน่ากองใหญ่ท่ามกลางเปลวแดดอันร้อนระอุ ท่านจะรู้สึกอย่างไร. ไม่ว่าจะจินตนาการอย่างไร ท่านก็คงไม่ดื่มด่ำเท่ากับสัมผัสแท้จริงที่นายแพทย์แกรี่ มอร์ช ได้รับกับตนเอง ...
  • วารสารคลินิก 273 กันยายน 2550
    การแพทย์ตะวันตกได้รับการยอมรับในวงกว้างทั่วโลก รวมทั้งในประเทศไทย ว่ามีพัฒนาการและความเจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็วทั้งในด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จนเป็นความหวังว่าจะทำให้มนุษย์มีสุขภาพดี และนำไปสู่ความเป็นอยู่ที่ดีทั้งในระดับบุคคลและสังคม. ความก้าวหน้าด้านวิทยาการทำให้เกิดความเข้าใจกันว่า จะสามารถรักษาโรคให้หายขาดหรือทุเลาลงได้ และจะสามารถยืดชีวิตหรือชะลอการตายได้อย่างไม่มีที่สิ้นสุด. ...
  • วารสารคลินิก 273 กันยายน 2550
    เมื่อได้ชื่อว่าเป็น หมอ อาจมีหลายคนรู้สึกว่าเรามีหน้าที่รักษาผู้ป่วยให้หายจากภาวะหรือโรคที่กำลังเป็นอยู่ แต่ในความเป็นจริงแล้วมีหลายครั้งที่เราไม่สามารถจะแก้ไขสิ่งที่เกิดขึ้นแล้วให้หายได้ ทั้งนี้ขึ้นกับปัจจัยหลายอย่าง เช่น1. ...
  • วารสารคลินิก 273 กันยายน 2550
        รอง ผอ.รพ.รร.6(2) ...
  • วารสารคลินิก 272 สิงหาคม 2550
    มนุษย์ ประกอบด้วย กาย และ ใจ ซึ่งเกี่ยวเนื่องเชื่อมโยงกันอย่างแยกไม่ออก โดยเฉพาะเมื่อเกิดความเจ็บป่วย. ในการดูแลรักษาผู้ป่วยหากขาดมิติการดูแลด้านจิตใจที่หยั่งลึกลงถึงความรู้สึกนึกคิดและสิ่งต่างๆ ที่เข้ามาเกี่ยวข้องและหล่อหลอมขึ้นเป็นบุคคลนั้น ก็จะทำให้เกิดปัญหาตามมาได้อย่างมากมาย ดังในการดูแลรักษาผู้ป่วยหนักในระยะท้ายของชีวิตที่พบทั่วโลกในขณะนี้. ...
  • วารสารคลินิก 271 กรกฎาคม 2550
    นิยามMild Cognitive Impairment (MCI) เป็นกลุ่มอาการที่ประชานหรือ cognition1 เริ่มเสื่อม เกินกว่าที่ควรจะเป็นสำหรับคนที่อายุและระดับการศึกษานั้นๆ แต่อาการมักจะไม่เป็นอุปสรรคต่อกิจกรรมในชีวิตประจำวันนัก2 คำว่า "ประชาน" มีรากศัพท์มาจากคำว่า "ชา" ซึ่งมีความหมายว่า รู้ หรือเก่ง ส่วน "ประ"- เป็นคำที่ใช้เติมหน้าเพื่อเน้นความหมายและ-น ...