สร้างเสริมสุขภาพ 3 อ.​ และป้องกันโรค (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)

  • วารสารคลินิก 266 กุมภาพันธ์ 2550
    ลุงสมาน ชายไทยอายุ 56 ปี มาพบคุณหมอวรวุฒิแต่เช้า ด้วยอาการเมื่อยๆ รู้สึกเหมือนไม่มีแรง. ยังไม่ทันจะได้ซักประวัติกันเลย คุณหมอวรวุฒิก็แทบจะวินิจฉัยได้แล้วว่าลุงสมานเป็นอะไร เพราะอาการที่เดินโซซัดโซเซของลุง กับกลิ่นเหล้าที่เหม็นคละคลุ้งที่โชยมา บอกให้รู้ว่าคุณลุงแกดื่มเหล้ามาจนได้ที่'เป็นยังไงล่ะลุง" คุณหมอเบือนหน้าหนี เพราะเริ่มจะรู้สึกเมาตามไปด้วย"ไม่มีแรงครับ" ...
  • วารสารคลินิก 263 พฤศจิกายน 2549
    หลังจากที่ได้นำเสนอบทความเกี่ยวกับโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมมาหลายตอน ฉบับนี้ ”อาชีวเวชศาสตร์ปริทัศน์"  ก็จะได้กล่าวถึงโรคกลุ่มสุดท้ายในบรรดา 10 กลุ่มโรค ที่สำนักระบาดวิทยากรมควบคุมโรค ได้กำหนดให้มีการ " รายงาน"  โรคใน กรณีที่แพทย์หรือบุคลากรสาธารณสุขตรวจพบหรือสงสัย นั่นคือ ...
  • วารสารคลินิก 263 พฤศจิกายน 2549
    6 ปีที่ผ่านมา การรณรงค์เมาไม่ขับได้ปลุกกระแสความตื่นตัวต่อปัญหาอุบัติเหตุอันเนื่องจากการดื่มสุรา แต่ยังไม่ปรากฏหลักฐานสนับสนุนว่า การรณรงค์เมาไม่ขับสามารถลดความสูญเสียจากปัญหานี้ได้ชัดเจน หากอาศัยระดับแอลกอฮอลในผู้ขับขี่ที่บาดเจ็บเข้าห้องฉุกเฉิน (ไม่ใช่อาศัยจมูกหรือประสาทสัมผัสอื่นๆของบุคลากรในห้องฉุกเฉิน เพื่อแยกแยะว่าดื่มหรือไม่ดื่ม อย่างที่มักอ้างกันในรายงานของหน่วยงานต่างๆ) ...
  • วารสารคลินิก 262 ตุลาคม 2549
    Vibrio vulnificus เป็นแบคทีเรียแกรมลบทรงแท่งที่อยู่ในตระกูล (family) Vibrionaceae เช่นเดียวกับ Vibrio cholerae ที่ทำให้เกิดโรคอหิวาตกโรค (cholera) และ Vibrio parahaemolyticus ที่ก่อโรคลำไส้ใหญ่อักเสบ (colitis). โดยปกติ V. ...
  • วารสารคลินิก 262 ตุลาคม 2549
    กรณีผู้ป่วยเมื่อ 8 ปีที่แล้ว ผู้ป่วยเปิดปี๊บหน่อไม้มาแล้วทดลองกินเอง เห็นว่าไม่มีอะไรเกิดขึ้น จึงนำหน่อไม้ไปแจกและขาย ซึ่งผู้ที่เปิดปี๊บคือหนึ่งในผู้ซึ่งเสียชีวิตจากพิษ botulinumครั้งนี้พิษ botulinum เกิดจากเชื้อ Clostridium botulinum ซึ่งเป็น anaerobe. ในภาวะที่ไม่สามารถเจริญเติบโตได้ก็จะสร้างสปอร์ ...
  • วารสารคลินิก 262 ตุลาคม 2549
    "หมอคะ คนไข้กินไม่ได้เลย ผอมลงเรื่อยๆ หมอช่วยใส่ท่ออาหารให้แกด้วยเถอะค่ะ"  นี่คงเป็นคำขอร้องที่แพทย์หลายคนไม่อยากได้ยิน โดยเฉพาะในผู้ป่วยด้วยโรคระยะสุดท้าย แต่เพราะแพทย์ไม่เคยได้เรียนรู้ที่มาที่ไปของการเกิดอาการเหล่านี้ จึงมีหลายคนที่เข้าใจผิดและทำตามที่ญาติขอร้องไปก่อน และไม่สามารถหยุดการให้อาหารทางท่ออาหารหรือทางหลอดเลือดได้ในที่สุด ...
  • วารสารคลินิก 262 กันยายน 2549
    ศัลยแพทย์กับ Emotional Intelligence (EQ)EQ หมายถึง emotional intelligence และได้รับการย่อเป็น EQ เพื่อให้คล้องจองกับ IQ (Intelligence Quotient) ซึ่งหมายถึง intelligence ที่เราวัดได้ คำว่า EQ นี้ได้ใช้กันเป็นที่แพร่หลายและทั่วไป อารมณ์เป็นส่วนของร่างกายในส่วนที่เรารู้จักกันทั่วๆไปว่า " heart " และเป็นองค์ประกอบของชีวิตที่สำคัญมากอย่างหนึ่งที่ศัลย์แพทย์จะต้องคอยทนุบำรุงให้ emotion ...
  • วารสารคลินิก 260 สิงหาคม 2549
    ความเป็นมาการให้ความสำคัญของจิตใจในการรักษา  โรค และความเจ็บป่วยต่างๆนั้น ถือเป็นแนวคิดหลักที่สำคัญของการแพทย์มาตั้งแต่สมัยโบราณ ทั้งการแพทย์จีน อินเดีย และการแพทย์ของประเทศตะวันตก.อย่างไรก็ตามในราวคริสต์ศตวรรษที่ 16-17 หรือราว 300 ปีก่อน การ แพทย์แผนตะวันตกได้เริ่มแยกองค์ประกอบด้านจิตใจและอารมณ์ออกจากด้านร่างกาย โดยเป็นผลจากการกำหนดทิศทางของวิทยาศาสตร์ขึ้นใหม่ใน ยุค Renaissance ...
  • วารสารคลินิก 256 เมษายน 2549
    Sherman KJ, et al. Comparing yoga, exercise, and a self-care book for chronic low back pain, A randomized controlled trial. Ann Intewrn Med 2005;143:849-56.ปวดหลังเรื้อรังเป็นอาการที่พบบ่อยโดยเฉพาะในคนชรา นอกจากการใช้ยาแก้ปวดแล้วการรักษาที่ไม่ใช้ยาที่ได้ผลบ้างก็คือ การออกกำลังกายแต่ยังไม่มีงานวิจัยที่สรุปได้ว่าการออกกำลังกายแบบใดที่ได้ผลดีกว่ากัน. ...
  • วารสารคลินิก 256 เมษายน 2549
    Dam RM van, et al. Coffee, caffeine, and risk of type 2 diabetes A prospective cohort study in younger and  middle-aged US. Women. Diabetes Care 2006;29:  398-403.ผู้ที่กินกาแฟวันละ 5 ถ้วยขึ้นไปเป็นประจำมี ความเสี่ยงต่อเบาหวานน้อยกว่าคนทั่วไป แต่ถ้ากินกาแฟไม่ถึงวันละ 5 ถ้วย หรือถ้ากินกาแฟประเภทปลอดกาเฟอีนจะลดความเสี่ยงต่อเบาหวานได้หรือไม่.การศึกษาแบบ cohort study ...