-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
185
กันยายน 2537
เจ็บหัวใจ(ตอนที่ 1)ปัจจุบันโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ (coronary atherosclerosis) ที่ทำให้เกิดอาการเจ็บหัวใจ(angina pectoris) และกล้ามเนื้อหัวใจตาย (myocardial infarction) ได้มีการพบบ่อยขึ้นและมากขึ้นในเมืองไทยการพบบ่อยหรือพบมากขึ้นนี้ ส่วนหนึ่งเกิดจากการมีโรคนี้(อุบัติการของโรคนี้)เพิ่มขึ้น เนื่องจากคนไทยเราดำรงชีวิตแบบคนฝรั่งมากขึ้น เช่น กินอาหารไขมันเพิ่มขึ้น อ้วนขึ้น ออกกำลังกายน้อยลง ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
184
สิงหาคม 2537
การตอบปัญหาสุขภาพ (ตอนจบ)ตามที่ผมได้เกริ่นไว้ในคราวที่แล้วว่า จดหมายที่เขียนมาถามปัญหาสุขภาพให้ผมนั้นเป็นจดหมายที่ตอบยาก เพราะเขียนเล่าข้อมูลมาไม่ละเอียด ตอบแล้วอาจจะผิดพลาดทำให้เป็นอันตรายต่อผู้ถามได้ ซึ่งผมจะขอยกตัวอย่างอีกเล็กน้อยนะครับปัญหาที่ ๓“บางครั้งเวลาอยู่เฉยๆจะรู้สึกเจ็บเหมือนมีวัตถุแหลมทิ่มแทงเนื้อภายในร่างกาย ซึ่งจะทำให้สูดลมหายใจได้ไม่เต็มที่และเจ็บมากด้วย ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
182
มิถุนายน 2537
ไขมันในเลือดสูงมีผู้ป่วยบางคนวิ่งมาหาหมอด้วยความตกใจซึ่งที่จริงไม่ใช่ผู้ป่วย เพราะไม่ได้เจ็บป่วยอะไร เพียงแต่อ้วนกว่าปกติไปสักหน่อย และก็กังวลเรื่องไปวัดไขมันในเลือด และพบว่าสูง 240240 หมายถึง240 มิลลิกรัมต่อเลือด 100 ซีซี หรือ 100 มิลลิลิตร หรืออาจเรียกว่า 240 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์ (240 มก.%) ซึ่งถ้าใช้หน่วยใหม่ที่สากลโลกเขาเปลี่ยนมาใช้กัน ก็จะประมาณ 6.2 มิลลิโมลต่อเลือด 1 ลิตร หรือ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
181
พฤษภาคม 2537
การลดไขมันหญิงสาวหน้าตาสวย รูปร่างอ้วน อายุประมาณ ๓๐ เศษ ก้าวเดินฉับๆเข้าไปในร้านหมอหญิง : “ดิฉันต้องการมาลดไขมันค่ะ”หมอ : “ไขมันที่ไหนครับ”หญิง : “อ้าว...หมอไม่รู้เหรอว่าเขาลดไขมันที่ไหน ก็ลดไขมันที่ท้อง สะโพก ต้นขา นี่แหละค่ะ สำคัญกว่าที่อื่น”หมอ : “ครับ ถ้าคุณจะลดไขมันที่ท้อง สะโพก และต้นขา คุณไม่ต้องหาหมอก็ได้ครับ เพราะการลดไขมันที่ท้อง สะโพก ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
180
พฤษภาคม 2537
การตรวจรักษาอาการ “บวม” (ตอนที่ 2)ตอนที่แล้วได้กล่าวถึงอาการบวมประเภทกดบุ๋มว่ามี4 สาเหตุ คือ1.1หลอดเลือดดำตีบตัน (venous obstruction) พบบ่อยที่ขา1.2การแพ้ (allergy หรือ hypersensitivity) จะเป็นที่ส่วนใดของร่างกายก็ได้1.3การอักเสบจากสาเหตุอื่นๆ นอกจากการแพ้ (non-allergic inflammation) ซึ่งส่วนใหญ่เกิดจากภยันตราย ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
179
มีนาคม 2537
การตรวจรักษาอาการ “บวม” ตอนที่ 1อาการบวม หมายถึง อาการที่เนื้อหรืออวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่งพองตัวขึ้นเนื่องจากมีน้ำคั่งอยู่ภายใน (น้ำในที่นี้หมายถึง น้ำเลือด น้ำเหลือง หรือน้ำในร่างกายอื่นๆ)น้ำที่คั่งอยู่ภายในนี้จะคั่งอยู่นอกเซลล์และนอกหลอดเลือด (ex-tracellular และ extravascular spaces) นั่นคือ น้ำเหล่านี้จะคั่งอยู่ระหว่างเซลล์ (intercellular และ interstitial space) นั่นเอง ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
177
มกราคม 2537
การตรวจรักษาอาการเลือดออก (ตอนที่12)อาการเลือดออกในกะโหลกศีรษะ นับเป็นอีกอาการหนึ่งที่ทุกท่านควรใส่ใจ ด้วยเหตุที่เราไม่สามารถเห็นอาการแสดงได้อย่างชัดเจน เช่นเดียวกับอาการเลือดออกในบริเวณอื่นๆ อย่างไรก็ตาม ท่านก็ยังพอจะสามารถวินิจฉัยอาการได้จากประวัติการเจ็บป่วยต่างๆ ดังนี้12. เลือดออกในกะโหลกศีรษะ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
176
ธันวาคม 2536
การตรวจรักษาอาการ “เลือดออก” (ตอน11)เลือดออกทางช่องคลอดอาการเลือดออกทางช่องคลอดที่เสนอในครั้งนี้คงเป็นตอนสุดท้าย หลังจากที่ติดตามกันตั้งแต่ต้น ก็เชื่อว่าหลายๆ ท่านคงพอจะวินิจฉัยและรักษาอาการเลือดออกเล็กๆ น้อยๆ ที่เกิดขึ้นกับตนเองได้บ้างแล้ว แต่ยังไง ก็อย่าลืมอ่านตอนจบนี้ด้วยเพื่อจะได้รู้จักอาการเลือดออกทางช่องคลอดได้ครบถ้วนทุกรูปแบบ11.6 เลือดออกทางช่องคลอดในวัยเจริญพันธุ์ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
175
พฤศจิกายน 2536
การตรวจรักษาอาการ “เลือดออก” (10) เลือดออกทางช่องคลอดครั้งนี้คงมาว่ากันต่อถึงอาการเลือดออกทางช่องคลอดซึ่งคุณผู้หญิงหลายคนกลัวกันนักกลัวกันหนา ลองดูสิว่ามีสาเหตุอะไรบ้างที่ทำให้เกิดอาการดังกล่าวและถ้ามีอาการแล้ว จะต้องทำอย่างไรต่อไป11.2เลือดกลางเดือน ในประมาณกึ่งกลางของช่วงที่ไม่มีประจำเดือน (ช่วงระหว่างประจำเดือน) ในหญิงบางคนอาจจะมีเลือดไหลออกทางช่องคลอดเล็กน้อย ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
174
ตุลาคม 2536
การตรวจรักษาอาการ เลือดออกทางช่องคลอด (9)การเลือดออกซึ่งมิได้เกิดจากบาดแผลนั้น อาจพบได้หลายลักษณะ อันเกิดจากหลายสาเหตุด้วยกัน ดังที่ได้เคยกล่าวไว้ในครั้งก่อนๆ แล้ว แต่สำหรับ ‘อาการเลือดออกทางช่องคลอด’ ที่นำเสนอในครั้งนี้ เพื่อว่ามีผู้หญิงหลายคนที่เคยมีอาการดังกล่าวคงพากันวิตกกังวล เกรงว่าจะเป็นสัญญาณบอกเหตุ (โรค) ร้ายในภายหน้า แต่คุณคงไม่กังวลมากนัก หากรู้วิธีวิฉัยอาการดังกล่าว ...