-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
227
มีนาคม 2541
ซึม-เศร้า-เหงา-หงิก (ตอนจบ)คนไข้รายที่ ๕หญิงอายุ ๔๘ ปี ถูกสามีพามาหาหมอสามี : “สวัสดีค่ะคุณหมอ ช่วยดูภรรยาของผมให้หน่อยไม่ทราบว่าเป็นโรคอะไรหรือเปล่า อ้วนเอาๆ และหงุดหงิดง่ายด้วย”หมอ : “สวัสดีครับ นั่งก่อนครับ สามีบอกว่าคุณอ้วนขึ้นจริงหรือไม่ครับ”คนไข้ : “ค่ะ อ้วนขึ้นหน่อยค่ะ”หมอ : “คุณทำงานอะไรครับ”คนไข้ : “งานบ้านค่ะ”หมอ : ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
226
กุมภาพันธ์ 2541
ซึม - เศร้า - เหงา- หงิก (ตอนที่ ๔)คนไข้รายที่ ๔ หญิงหม้ายอายุ ๗๔ ปี ป่วยด้วยโรคเบาหวาน และความดันเลือดสูงมา ๓๐ ปี มีอาการอัมพาตด้านซ้ายมา ๔ ปี จนต่อมาปัสสาวะเองลำบาก ต้องคาสายสวนปัสสาวะไว้มา ๓ ปี และมีการติดเชื้อ (โรค) ในกระเพาะปัสสาวะ ทำให้กระเพาะปัสสาวะอักเสบและไตอักเสบบ่อยๆ ในปีแรกที่มีการคาสายปัสสาวะไว้ แต่ต่อมาเมื่อลูกหลานรู้จักดูแลสาวสวนปัสสาวะให้ถูกต้อง ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
225
มกราคม 2541
ซึม-เศร้า-เหงา-หงิก (ตอนที่ ๓)คนไข้รายที่ ๓หญิงไทยอายุ ๒๐ ปี ถูกสามีอุ้มมาห้องฉุกเฉินกลางดึกสามี : “หมอ หมอช่วยดูแฟนผมหน่อย แกปลุกไม่ตื่นครับ”หมอ : “คุณวางคนไข้บนเตียงก่อน หมอจะตรวจดูให้”หมอรีบตรวจคนไข้ พบว่า คนไข้ยังพอรู้ตัวอยู่เมื่อเขย่าตัวแรงๆ หรือหยิกแรงๆ การหายใจช้ากว่าปกติเหมือนคนหลับสนิท ชีพจรและความดันเลือดอยู่ในเกณฑ์ปกติ รูม่านตาเล็กทั้ง ๒ ข้าง ตรวจร่างกายอื่นๆ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
224
ธันวาคม 2540
ซึม-เศร้า-เหงา-หงิก (ตอนที่ ๒)คนไข้รายที่ ๒ชายไทยอายุ ๓๘ ปี ถูกเพื่อนพามาหาหมอเพื่อน : “สวัสดีครับ คุณหมอช่วยดูเพื่อนผมหน่อย หมู่นี้เขาเปลี่ยนไปมาก ไม่ค่อยพูดค่อยจา ไม่สนุกสนานร่าเริงเหมือนที่เคยเป็น เวลาไปกินข้าวด้วยกัน ก็ไม่ค่อยกินทั้งที่ปกติเป็นคนกินเก่ง ชวนไปไหนก็ไม่ค่อยไป นั่งจับเจ่าอยู่คนเดียว ไม่รู้เป็นโรคอะไรหรือเปล่า”หมอ : “สวัสดีครับ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
223
พฤศจิกายน 2540
ซึม-เศร้า-เหงา-หงิก (ตอนที่ ๑)ในภาวะที่เศรษฐกิจตกสะเก็ดเช่นนี้ ย่อมมีคนเป็นจำนวนมากเกิดอาการ “ซึม-เศร้า-เหงา-หงิก” จนบางคนอาจคิดแก้ปัญหาด้วยการฆ่าตัวตาย ซึ่งไม่ใช่วิธีแก้ปัญหาที่ถูกต้อง เพราะคนอื่นที่เกี่ยวข้องโดยเฉพาะคนที่ตนรัก จะต้องรับเคราะห์และมักจะต้องแบกรับภาวะที่ตนทิ้งไว้ให้ต่อไป เป็นการผลักภาระให้แก่คนที่ตนรักให้ต้องทุกข์ทรมานเพิ่มขึ้น ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
222
ตุลาคม 2540
เรื่อง “เหน็บชา” (ตอนจบ)เมื่อคนไข้มหาด้วยอาการเหน็บชา การตรวจรักษาขึ้นแรก ต้องจำแนกก่อนว่าเป็นคนไข้ฉุกเฉินหรือไม่ เช่นเดียวกับการตรวจรักษาอาการอื่นๆคนไข้เหน็บชาที่อยู่ในภาวะฉุกเฉิน ก็คือ คนไข้ที่มีอาการเจ็บหนักอื่นๆ ร่วมด้วย เช่น ไข้สูง หอบเหนื่อย ชัก หมดสติ เกิดอาการอัมพาตหรืออัมพฤกษ์อย่างรวดเร็ว เป็นต้น จะต้องรีบให้การปฐมพยาบาลอาการเจ็บหนักก่อน ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
221
กันยายน 2540
เรื่อง “เหน็บชา” (ตอนที่ ๓)คนไข้รายที่ ๔ กรรมกรก่อสร้าง ชายอายุประมาร ๓๐ ปี ตกจากบันไดนั่งร้าน กระแทกพื้น มีอาการชาและขยับเขยื้อนขา ๒ ข้างไม่ได้ จึงถูกพามาโรงพยาบาลทันที แพทย์ตรวจร่างกาย พบว่า ขาทั้ง ๒ ข้างอ่อนแรงมาก และรับความรู้สึกต่างๆ ไม่ได้ (ชายอย่างสมบูรณ์) ตรวจปฏิกิริยาสะท้อน (reflexes) ของเอ็นขาทั้ง ๒ ข้างได้ผลลบ คนไข้มีอาการปวดบริเวณหลังส่วนเอว ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
220
สิงหาคม 2540
เรื่อง “เหน็บชา” (ตอนที่ ๒)คนไข้รายที่ ๒ ชายไทยอายุประมาณ ๓๕ ปีชาย : “สวัสดีครับ คุณหมอ นิ้วเท้าผมเป็นอะไรไม่รู้ ชาไปหมดและเริ่มเจ็บมาประมาณครึ่งชั่วโมงแล้วครับ”หมอ : “อยู่ดีๆ ก็เป็นขึ้นมาเองหรือครับ”ชาย : “ครับ อยู่ดีๆ ก็เป็นขึ้นมาเอง แต่อาจจะเป็นเพราะว่าเมื่อเช้าผมเดินมากไปหน่อย และรองเท้าคู่นี้อาจจะคับไปหน่อยหรือเปล่าก็ไม่ทราบครับ”หมอ : “คุณเคยมีอาการอย่างนี้มาก่อนหรือไม่ครับ”ชาย : ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
219
กรกฎาคม 2540
เรื่อง “เหน็บชา”พจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ ให้ความหมายของคำว่า “เหน็บชา” ว่าเป็นคำนาม หมายถึง ชื่อโรคชนิดหนึ่ง ทำให้รู้สึกชาตามเนื้อตัว และให้ความหมายของคำว่า “ชา” ว่าเป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่อวัยวะเป็นเหน็บ เช่น มือชา เท้าชา จะเห็นว่า คำหลายคำในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานจะอยู่ในลักษณะเช่นนี้ จนทำให้ไม่ทราบความหมายที่แท้จริงของคำนั้นในที่นี้ คำว่า “เหน็บชา” ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
217
พฤษภาคม 2540
เรื่อง “ไอ” (ตอนที่ 3)คนไข้รายที่ 5 หญิงไทยอายุ 65 ปี มาที่โรงพยาบาลพร้อมกับลูก ๆ ที่มีอาการวิตกกังวลอย่างมากหญิง : “สวัสดีค่ะ ดิฉันไอเป็นเลือดออกมาสด ๆ เป็นจำนวนมาก น่ากลัวจังเลยค่ะ เป็นอะไรมากมั้ยคะ”หมอ : “สวัสดีครับ เลือดออกมาประมาณเท่าไรครับ 1 ถ้วยยา (ประมาณ 50-60 ซีซี) 1 แก้วน้ำ (ประมาณ 250 ซีซี) หรือประมาณเท่าไรครับหญิง : “ไม่แน่ใจค่ะ มันออกมาทั้งหมด 3 ...