Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » คอลัมน์ » มาเป็นหมอกันเถิด

มาเป็นหมอกันเถิด

  • การดูแลรักษาผู้ป่วยที่หมดหวัง (ตอนที่ ๓)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 238 กุมภาพันธ์ 2542
    รายที่ ๒ : ผู้ป่วยหญิงอายุประมาณ ๔๐ ปี มาที่ห้องฉุกเฉินด้วยอาการหอบเหนื่อยมา ๑ วัน ผู้ป่วยเป็นคนไข้ ประจำที่ห้องฉุกเฉิน ในระยะหลังนี้มาบ่อย เพราะหอบเหนื่อย เป็นๆหายๆ ผู้ป่วยเป็นมะเร็งที่เต้านมเมื่อประมาณ ๘ ปีก่อน แต่ปฏิเสธการผ่าตัดเต้านมทิ้ง และเมื่อได้รับยาฆ่ามะเร็งก็ทนพิษของยาไม่ไหว คลื่นไส้ อาเจียนมาก รู้สึกเหมือนกำลังจะตายเวลาได้ยา หลังได้ยาไป ๒-๓ ครั้ง ก็ขอกลับบ้าน และไม่ยอมกลับมารักษาต่อ ...
  • การดูแลรักษาผู้ป่วยที่หมดหวัง(ตอนที่ ๒)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 237 มกราคม 2542
    ตัวอย่างผู้ป่วยรายที่ ๑ : ผู้ป่วยชายอายุประมาณ ๗o ปี ถูกอุ้มมาที่ห้องฉุกเฉินในโรงพยาบาล และมีลูกหลานมาด้วยหลายคนหลานผู้ป่วย : “คุณหมอครับ ช่วยดูคุณปู่หน่อย ปู่หอบมา ๒ วันแล้วครับ ไข้ขึ้นด้วย และไอมากด้วยครับ”หมอ : “คุณวางคุณปู่ลงบนเตียงก่อน แล้วค่อยเล่าเรื่องให้หมอฟัง”ญาติวางผู้ป่วยลงบนเตียง ผู้ป่วยเป็นชายชราหายใจหอบ ไอเป็นพักๆ มีเสียงเสมหะในคอ แต่ไอไม่ออก รูปร่างผอมมาก ...
  • การดูแลรักษาผู้ป่วยที่หมดหวัง (ตอนที่๑)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 236 ธันวาคม 2541
    คำว่า “ผู้ป่วยที่หมดหวัง” หรือ “คนไข้ที่หมดหวัง” ยังไม่มีคำจำกัดความที่แน่นอนและเป็นที่ยอมรับกันทั่วไป ทำให้การดูแลรักษาผู้ป่วยที่หมดหวังเกิดความขัดแย้ง ความไม่สบายใจ และ/หรือความไม่เข้าใจกัน จนถึงขั้นโกรธกันหรืออาฆาตกันได้ง่าย โดยเฉพาะในยุคปัจจุบันที่คนเราเข้าใจสัจธรรม(ความจริง แห่งธรรมหรือธรรมชาติ)น้อยลง เราถูกมอมเมาให้ยึดติดกับตัวเลขของสุขภาพ เช่น ค่าไขมันในเลือด ...
  • อาการและโรค (ตอนจบ)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 235 พฤศจิกายน 2541
    อันที่จริง มนุษย์แทบทุกคนจะมีโรคอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างอยู่ในร่างกายเสมอ เช่น ปวดหัว มึนหัว(โรคเครียด) ปวดฟัน(โรคฟันผุหรือเหงือกอักเสบ) เบื่อ-เซ็ง-เศร้า(โรคเครียดหรือโรคซึมเศร้า) ปวดท้อง(โรคกระเพาะลำไส้จากสาเหตุต่างๆ เช่น ท้องผูก ท้องเดิน ฯลฯ) อ่อนเพลีย(โรคขาดน้ำ ขาดอาหาร โรคนอน ไม่หลับ โรคเครียด) ...
  • อาการและโรค (ตอนที่๓)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 234 ตุลาคม 2541
    ...
  • อาการและโรค (ตอนที่๒)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 233 กันยายน 2541
    โดยทั่วไปแล้ว โรค เป็นสภาพหรือภาวะความผิดปกติของร่างกายหรือจิตใจที่มีลักษณะเฉพาะที่สามารถ แยกจากโรคอื่นๆ หรือภาวะความ ผิดปกติอื่นๆ ที่มีลักษณะแตกต่างออกไป เช่น โรคไข้เลือดออก หมายถึง โรค ที่มีอาการคล้ายไข้หวัดหรือไข้หวัดใหญ่ แล้วต่อมามีจุดเลือดออกตามตัวหรือมีอาการเลือดออกในที่อื่นด้วย โรคไข้จับสั่น หมายถึง โรคที่ มีอาการหนาวสั่น แล้วตามมาด้วยอาการไข้สูง ปวดหัว ปวดตัวมาก ...
  • อาการและโรค (ตอนที่๑)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 232 สิงหาคม 2541
    กลางดึกคืนวันอาทิตย์ ที่ห้องฉุกเฉินของโรงพยาบาลใหญ่แห่งหนึ่ง ชายไทยอายุ ๔๐ กว่าปี ถูกพานั่งรถเข็นเข้ามาหาหมอหมอ : “สวัสดีครับ มีอาการฉุกเฉินอะไรหรือครับ” คนไข้ : “ผมเป็นโรคท้องมานครับ วันนี้แน่นท้องมากจึงมาครับ” หมอ : “คุณท้องมานมานานเท่าไหร่แล้ว เพิ่งจะแน่นท้องวันนี้เองหรือ” คนไข้ : “ผมท้องมานมาปีกว่าแล้วครับ ประมาณ ๒ สัปดาห์นี้ ...
  • ชอบยา

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 230 มิถุนายน 2541
    คนไข้รายที่ ๓ : หญิงไทยอายุ ๔๕ ปี ถูกพามาโรงพยาบาลโดยลูกสาววัยรุ่น ลูก : “สวัสดีค่ะคุณหมอ ช่วยดูคุณแม่หน่อย ค่ะ ไม่ทราบว่าเป็นอะไร ผิวหนังลอกถลอกปอกเปิกไปหมดแล้ว” หมอ : “เป็นมากี่วันแล้วครับ” ลูก : “๓-๔ วันแล้วค่ะ แต่เป็นมากขึ้นๆ จนปากเปื่อยไปหมด กินอะไรไม่ได้เลยค่ะ” หมอ : “ก่อนเป็นคุณแม่ไปกินยาอะไรบ้างหรือเปล่า” ลูก : “ค่ะ ...
  • ชอบยา

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 229 พฤษภาคม 2541
    คนไข้รายที่ ๒ : ชายไทยวัย ๖o ปี หิ้วถุงหลายถุงเข้ามาหาหมอชาย : “สวัสดีครับ คุณหมอ ผมเป็นโรคหัวใจ รักษามาหลายแห่งแล้วไม่ดีขึ้น คุณหมอช่วยผมหน่อยครับ”หมอ : “สวัสดีครับคุณขอใบส่งตัวหรือใบรายงานผลการตรวจและการรักษาจากคุณหมอคนก่อนๆมาด้วยหรือเปล่าครับ เพราะการเปลี่ยนหมอและเปลี่ยนโรงพยาบาลบ่อยๆจะทำให้การรักษาไม่ปะติดปะต่อกัน เป็นอันตรายต่อคุณเอง ทำให้คุณเสียค่าใช้จ่ายมากขึ้น ...
  • ชอบยา

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 228 เมษายน 2541
    ชอบยา (ตอนที่ ๑)ไม่ว่าจะในช่วงใดของชีวิต เกิด แก่ เจ็บ หรือตาย จะมีการใช้ยาอยู่เสมอ ยาจึงเป็นหนึ่งในปัจจัย ๔ แห่งความจำเป็นพื้นฐานของมนุษย์ แม้แต่ในช่วงก่อนเกิด หรือยังอยู่ในครรภ์มารดาก็มีการใช้ยาที่เรียกว่า “ยาบำรุงครรภ์” ให้แก่แม่ และคาดหวังว่ายานั้นๆ จะทำให้แม่และลูกในท้องมีสุขภาพสมบูรณ์ขึ้น ซึ่งบางครั้งอาจให้ผลตรงกันข้าม หรือแม้แต่คนที่ตายแล้วก็มักจะมีการใช้ยา เช่น ...
  • «
  • ‹
  • …
  • 5
  • 6
  • 7
  • 8
  • 9
  • 10
  • 11
  • 12
  • 13
  • …
  • ›
  • »
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • ศิลปะกับครอบครัว
  • สงครามโรค
  • สปสช. สำนักงานหลักประกันสุขภาพ
  • สมุนไพรน่ารู้
  • สรีรวิทยาการออกกำลังกาย
  • สร้างเสริมสุขภาพ
  • สวนบำบัด
  • สวนโมกข์ ธรรมกาย สันติอโศก
  • สารคดีแพทย์
  • สาระน่ารู้
  • สารานุกรมการเลี้ยงดูเด็ก
  • สารานุกรมทันโรค
  • สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
  • สิ่งที่ควรรู้ก่อนจะวิ่ง
  • สิ่งแวดล้อมกับชีวิต
  • ‹‹
  • 9 จาก 14
  • ››

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa