-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
265
พฤษภาคม 2544
ตัวอย่างผู้ป่วยรายที่ 18ชายไทยคู่ อายุ56 ปี ภูมิลำเนา อยู่กรุงเทพฯ แต่ต้องเดินทางไปขาย สินค้าตามต่างจังหวัดเป็นประจำ ขณะเกิดเหตุ กำลังขายสินค้าอยู่ที่จังหวัดอุดรธานี เริ่มมีอาการคล้ายเป็นไข้หวัด ตัวร้อนรุมๆ คัดจมูก ปวดเมื่อยตามตัว วันต่อมาอาการทรุดลง จึงไปหาหมอที่คลินิก หมอสงสัยว่าจะเป็นไข้หวัด ให้ยามากิน และแนะนำให้ออกกำลังกายผู้ป่วยออกกำลังกายเป็นประจำอยู่แล้ว ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
250
กุมภาพันธ์ 2543
เรื่องจริงจากห้องฉุกเฉินตัวอย่างผู้ป่วยรายที่ ๕ ผู้ป่วยหลังผ่าตัดชายไทยอายุประมาณ ๗๐ ปี นอนราบอยู่บนเตียงรถเข็นในห้องฉุกเฉิน ไม่มีอาการกระสับกระส่าย กระวนกระวาย ไม่หอบ ไม่ไอ นอน เฉยอยู่แพทย์ประจำบ้าน : "ผู้ป่วยรายนี้ เป็นชายไทยหม้าย อายุ ๖๙ ปี เพิ่ง ออกจากโรงพยาบาลเมื่อ ๑๐ วันก่อน หลังได้รับการผ่าตัดเอาหลอดเลือดแดงใหญ่กลางท้องที่โป่งพอง (abdominal aortic aneurysm) ออก ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
249
มกราคม 2543
เรื่องจริงจากห้องฉุกเฉินผู้ป่วยรายที่ ๔ ชายไทยโสด อายุ ๒๓ ปี มาห้องฉุกเฉินพร้อมกับพ่อแม่และน้องสาวแพทย์ :"สวัสดีครับ คุณมีอาการอะไรหรือ"ผู้ป่วย :"หมอที่โรงพยาบาลตาคลีให้ผมมารักษาที่กรุงเทพฯ ครับ เขาให้เอาผลเลือดนี่มาให้ดูครับ"แพทย์ดูผลเลือดที่หมอโรงพยาบาลตาคลีตรวจไว้ พบว่า ผู้ป่วยเป็นมะเร็งเม็ดเลือดขาวแพทย์ :"หมอที่นั่นให้คุณมาเท่านี้หรือ"ผู้ป่วย :"ครับ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
248
ธันวาคม 2542
เรื่องจริงจากห้องฉุกเฉินผู้ป่วยรายที่ ๓ หญิงไทยหม้าย อายุ ๕๐ ปี ถูกญาติพามาที่ห้องฉุกเฉินแพทย์ :"สวัสดีครับ คนไข้เป็นอะไร หรือครับ"ญาติ :"เวียนหัว บ้านหมุน และคลื่นไส้อาเจียนค่ะ"แพทย์ :"เป็นมากี่วันแล้วครับ"ญาติ :"เป็นมา ๓ วันแล้วค่ะ"แพทย์ :"แล้วกินยาอะไรอยู่ หรือช่วยตัวเองยังไงบ้างเพื่อให้อาการดีขึ้น"ญาติ :"ก็พาไปหาหมอที่โรงพยาบาลใกล้บ้าน กินยามา ๒ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
246
ตุลาคม 2542
ห้องฉุกเฉิน (emergency room) ของโรงพยาบาลต่างๆ อาจมีชื่อแตกต่างกันไป เช่น หน่วยฉุกเฉิน (emergency unit) ชื่อคล้ายกับหน่วยฉุกเฉินของทหาร ตำรวจ หรือหน่วยบรรเทาสาธารณภัยไป เพราะบางหน่วยจะมีรถพยาบาลออกไปรับผู้ป่วยในที่เกิดเหตุในทันทีด้วยหน่วยอุบัติภัย (traumatic unit) เป็นห้องฉุกเฉินที่ทำการตรวจรักษาผู้ที่ได้รับอุบัติเหตุและภัยธรรมชาติ เป็นต้นไม่ว่าห้องฉุกเฉินจะมีชื่อเป็นอย่างไรก็ตาม ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
243
กรกฎาคม 2542
ข้อคิดจากตัวอย่างผู้ป่วย ตัวอย่างผู้ป่วยทั้ง๕รายคงพอจะทำให้เห็นถึงความหมายของคำว่า "ผู้ป่วยที่หมดหวัง" ในสภาวการณ์ที่แตกต่างกัน รวมทั้งผู้ป่วยที่ถูกคิดว่าหมดหวังที่จะรักษาพยาบาลให้ดีขึ้น แต่แล้วก็สามารถรักษาพยาบาลให้รอดได้ เป็นต้น"ความหมดหวัง" ในที่นี้ จึงหมายถึงเฉพาะ "ความหมดหวัง" ในด้านการรักษาพยาบาล ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
242
มิถุนายน 2542
การดูแลรักษาผู้ป่วยที่หมดหวัง (ตอนที่ ๗)รุ่งเช้า คนไข้ก็ยังหมดสติอย่างสมบูรณ์ ตัวอ่อนปวกเปียก ไม่มีปฏิกิริยาตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นเหมือนเดิม หัวใจเต้นเร็วแต่เต้นในจังหวะปกติ ความดันเลือดยังค่อนข้างต่ำ แม้จะให้ยาเร่งอยู่เต็มที่ แต่ก็สูงกว่าเมื่อคืนและยังต้องใช้เครื่องช่วยหายใจเต็มที่อาจารย์ :"มาดูคนไข้เช้านี้แล้ว ผมก็ยังคิดว่าคนไข้กินยาเกินขนาด แม้ญาติจะยืนยันว่าไม่ได้กินยา ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
241
พฤษภาคม 2542
การดูแลรักษาผู้ป่วยที่หมดหวัง (ตอนที่ ๖)รายที่ ๕ : ชายไทยอายุ ๔๐ ปี เป็นแพทย์ประกอบอาชีพอิสระ มาที่ห้องฉุกเฉินด้วยอาการเจ็บแน่นอกและเหนื่อยมา ๑ ชั่วโมง ญาติซึ่งเป็นแพทย์ให้ประวัติว่า ผู้ป่วยเป็นโรคหัวใจขาดเลือด รักษาอยู่ที่โรงพยาบาลใหญ่แห่งหนึ่งมาหลายปี แต่ครั้งนี้ญาติให้มาที่โรงพยาบาลนี้ เพราะญาติทำงานอยู่ที่นี่จะได้ช่วยดูแล และเห็นว่ารักษาที่เก่ามาหลาย ปีแล้วไม่ดีขึ้นญาติ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
240
เมษายน 2542
รายที่ ๔ หญิงไทยอายุ ๘๙ ปี ถูก พามาส่งโรงพยาบาลโดยลูกหลาน เพราะไม่ยอมกินอาหารมา ๒-๓ วัน แม้ลูกหลานจะเคี่ยวเข็ญอย่างไร ก็ยอมกินแต่น้ำหรือน้ำหวานเท่านั้น ลูกหลานที่เป็นหมอตรวจร่างกาย แล้วก็ไม่พบสิ่งผิดปกติ แม้จะให้ยาแก้อาการซึมเศร้า ยาแก้กังวล ยาบำรุง หรือยาอะไรอื่น คนไข้ก็ไม่ยอมกิน พอเซ้าซี้มากๆเข้า คนไข้เลยโกรธ ไม่พูดด้วยและไม่ยอมลงจากเตียงอีก จึงจองห้องพิเศษและพาคนไข้มาอยู่โรงพยาบาล หลาน : ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
239
มีนาคม 2542
อาจารย์ แพทย์ประจำบ้าน นักศึกษาแพทย์ และภรรยาคนไข้เดินกลับไปในหอผู้ป่วย และเข้าไปหาคนไข้อาจารย์ : “คุณวิชัย หมอได้ดูผลการตรวจต่างๆแล้ว และได้คุยกับภรรยาของวิชัยด้วย วิชัยรู้ไหมว่า วิชัยเป็นโรคอะไร” คนไข้ : “รู้ครับ และผมรู้ว่าเป็นโรคที่รักษาไม่หายด้วย แต่โชคดีที่ภรรยา และลูกผมไม่ได้ติดโรคไปจากผม” อาจารย์ : “ดีมาก แล้ววิชัยคิดว่าที่วิชัยได้รับการรักษามา ๔-๕ ...