-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
276
พฤษภาคม 2545
ในบทนี้จะกล่าวถึง “การป่วยฉุกเฉิน” เป็นสำคัญ“การป่วย” ในที่นี้หมายถึง การรู้สึกไม่สบายเพราะโรค ความไข้ หรือเหตุอื่นใดที่ไม่ใช่การบาดเจ็บจากอุบัติเหตุ ภยันตราย แมลงสัตว์กัดต่อย และการได้รับสารพิษ (รวมทั้งการแพ้ยาและการเป็นพิษจากยาด้วย)“ฉุกเฉิน” ในที่นี้หมายถึง เกิดขึ้นโดยปัจจุบันทันด่วนและจะต้องรีบแก้ไข ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
274
กุมภาพันธ์ 2545
ระบบป้องกันการเจ็บป่วยฉุกเฉินการจะดูแลรักษาไม่ให้เกิดความทุกข์ทรมาน ความพิการ และความตาย จากการเจ็บป่วยฉุกเฉินได้อย่างสมบูรณ์และดีที่สุด คือ การป้องกันไม่ให้เกิดการเจ็บป่วยฉุกเฉินเท่านั้น โดย1. ป้องกันอุบัติเหตุ (อ่านรายละเอียด ฉบับมกราคม)2. ป้องกันโรค3. ป้องกันโรคกำเริบระบบป้องกันโรคการเจ็บป่วยฉุกเฉิน นอกจากจะเกิดจากอุบัติเหตุแล้ว ยังเกิดจากโรคนานาชนิด ซึ่งส่วนใหญ่จะป้องกันได้ เช่น 1. ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
273
มกราคม 2545
ระบบป้องกันการเจ็บป่วยฉุกเฉินแม้จะสามารถปฏิรูประบบรักษาพยาบาลฉุกเฉิน จนผู้ป่วยฉุกเฉินได้รับการรักษาพยาบาลอย่างดีและรวดเร็วเพียงใดก็ตาม ความทุกข์ทรมาน ความพิการ และความตายย่อมเกิดขึ้นไม่มากก็น้อยเสมอ เมื่อเกิดการเจ็บป่วยฉุกเฉินขึ้น การจะดูแลรักษาไม่ให้เกิดความทุกข์ ทรมาน ความพิการ และความตายจากการเจ็บป่วยฉุกเฉินได้อย่างสมบูรณ์และดีที่สุด คือ การป้องกันไม่ให้เกิดการเจ็บป่วยฉุกเฉินเท่านั้น โดย1. ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
272
ธันวาคม 2544
ระบบห้องฉุกเฉินและโรงพยาบาล ห้องฉุกเฉินในโรงพยาบาลบางส่วนใหญ่ โดยเฉพาะในโรงพยาบาลของรัฐยังเป็นจุดอ่อนที่แพทย์และพยาบาลส่วนใหญ่ไม่อยากปฎิบัติงาน เพราะต้องได้ภาระหนัก ฉุกละหุก เครียด เสี่ยงต่อการเสียชื่อเสียง และการถูกฟ้องร้อง และยังได้ผลตอบแทนเท่ากับหรือน้อยกว่าบุคลากรในหน่วยงานอื่นที่งานสบายกว่ากันมาก จึงต้องมีการหมุนเวียนแพทย์ไปตรวจรักษาผู้ป่วยในห้องฉุกเฉิน และแพทย์ที่อ่อนอาวุโสและประสบการณ์ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
271
พฤศจิกายน 2544
การปฏิรูประบบแจ้งเหตุและประสาน อาจดำเนินการเป็นขั้น ๆ ไปดังนี้1. การรวมกลุ่มผู้ที่สนใจและ / หรือดำเนินการในเรื่องนี้อยู่ เพื่อร่วมกันรวบรวมระบบแจ้งเหตุฉุกเฉินหลาย ๆ ระบบให้เป็นระบบเดียว ถ้ายังทำไม่ได้ทันทีในระยะแรก อาจจะลดเป้าหมายลง โดยให้ระบบแจ้งเหตุเจ็บป่วยฉุกเฉินทั้งหมดเป็นระบบเดียวไปก่อน ( ส่วนสาเหตุฉุกเฉินอื่น ๆ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
270
ตุลาคม 2544
การปฐมพยาบาล หมายถึง การรักษาพยาบาลเบื้องต้น เพื่อบรรเทาความรุนแรงของการเจ็บป่วยฉุกเฉิน และเพื่อป้องกันภาวะแทรกช้อนเป็นสำคัญ และในบางครั้งอาจเป็นการช่วยชีวิตของผู้ป่วยด้วย เช่น(1) คนที่สำลักอาหารชิ้นโตเจ้าไปติดคอหอย(2) คนที่อยู่ดีๆ แล้วหมดสติล้มฟุบลงทันที(3) คนตกจากที่สูงหรือจักรยานยนต์คว่ำ(อ่านรายละเอียดเล่มที่แล้ว)(4) คนเป็นลมฟุบลงกับโต๊ะหรือกับพื้น แต่ยังหายใจอยู่และคลำชีพจร ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
269
กันยายน 2544
ระบบรักษาพยาบาลฉุกเฉิน ประกอบด้วย1. ระบบปฐมพยาบาล2. ระบบแจ้งเหตุฉุกเฉิน3. ระบบรักษาพยาบาล ณ จุดเกิดเหตุ4. ระบบเคลื่อนย้ายและส่งต่อผู้ป่วย5. ระบบห้องฉุกเฉินและโรงพยาบาล6. ระบบประกันสุขภาพยามฉุกเฉินอย่างไรก็ตาม เมื่อเกิดการเจ็บป่วยฉุกเฉินขึ้น ความทุกข์ทรมานอย่างฉับพลัน ความพิการทั้งชั่วคราว และถาวร และความตาย ย่อมจะเกิดขึ้นไม่มากก็น้อยเสมอ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
268
สิงหาคม 2544
ตัวอย่างผู้ป่วยจำนวนมากในห้องฉุกเฉินตามที่แสดงไว้ในช่วงเกือบ2 ปีที่ผ่านมา คงจะพอทำให้เห็นวิธีการตรวจรักษาในห้องฉุกเฉินแบบต่างๆ ตั้งแต่การตรวจด้วยการดูสภาพทั่วไปของผู้ป่วยแล้วให้การวินิจฉัยโรคหรือภาวะแห่งความทุกข์ทรมานของผู้ป่วย ไปจนถึงการตรวจ ที่ต้องใช้ห้องปฏิบัติการแพงๆ เช่นการตรวจคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI) กว่าจะวินิจฉัยโรคได้ เป็นต้นและตั้งแต่การรักษาด้วยวิธีการง่ายๆ เช่น ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
267
กรกฎาคม 2544
ท่านอาจารย์พุทธทาสภิกฺขุ (อินฺทปญฺโญ) ได้จรรโลงพุทธศาสนาให้เป็นพุทธศาสนาที่ แท้จริงตามหลักธรรม“ธรรม” ในความหมายของท่าน คือ 1. ธรรมชาติ 2. กฎของธรรมชาติ 3. หน้าที่ตามกฎของธรรมชาติ 4. ผลที่ได้รับจากการทำหน้าที่แม้แต่ “การตาย” “ความตาย” และ “เหตุการณ์หลังตาย” ของท่านก็ยังสามารถจรรโลงพุทธศาสนาให้เป็นไปตามหลักธรรม ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
266
มิถุนายน 2544
ตัวอย่างผู้ป่วยรายที่19 ชายไทยอายุ70 ปี ถูกพามาที่ห้องฉุกเฉินเพราะมีอาการอ่อนเพลียมา1 เดือน ไปนอนพักรักษาตัวที่โรงพยาบาลต่างจังหวัดแห่งหนึ่งอยู่ประมาณ10 วัน อาการไม่ดีขึ้น ผู้ป่วยและญาติจึงขอใบส่งตัวจาก โรงพยาบาลนั้นเพื่อมารักษาต่อที่กรุงเทพฯ จากใบส่งตัวและจากแฟ้มประวัติเดิม ปรากฏว่า ผู้ป่วยรายนี้ป่วยตั้งแต่เดือนมีนาคม พ.ศ.2543 โดยมีอาการท้องอืดบ่อยๆ และ1 ...