-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
195
กรกฎาคม 2538
วูบ (ตอนที่ 1)เรื่องราวต่าง ๆ ทางการแพทย์ มีมากมาย หลายคนดูว่ายุ่งยากซับซ้อน หรือถูกทำให้ดูยุ่งยากสับสน จนไม่อยากแตะต้อง “สิ่งละอันพันละน้อย” จะนำเรื่องเหล่านี้ มาทำให้อ่านง่าย เข้าใจง่าย เพื่อจะได้เป็นประโยชน์ในวงกว้างต่อไป“วูบ” ตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525 ให้ความหมายว่า เป็นคำกริยา แปลว่า “ลูกโพลงแล้วดับไปทันที ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
194
มิถุนายน 2538
เจ็บหัวใจ (ตอนจบ)เรื่องราวต่าง ๆ ทางการแพทย์มีมากมาย หลายคนดูว่ายุ่งยากซับซ้อนหรือถูกทำให้ดูยุ่งยากสับสนจนไม่อยากแตะต้อง “สิ่งละอันพันละน้อย” จะนำเรื่องเหล่านี้มาทำให้อ่านง่ายเพื่อจะได้เป็นประโยชน์ในวงกว้างต่อไปการรักษาอาการ :1. หยุดพัก หยุดทำในสิ่งที่กำลังทำอยู่และนั่งลง ถ้านั่งพิงได้และผ่อนคลายจิตใจและร่างกายให้ได้มากเท่าใดก็ยิ่งทำให้หายเร็วขึ้นเท่านั้น2. ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
193
พฤษภาคม 2538
เจ็บหัวใจ (ตอนที่ 9)เรื่องราวต่าง ๆทางการแพทย์มีมากมาย หลายคนดูว่ายุ่งยากซับซ้อนหรือถูกทำให้ดูยุ่งยากสับสน จนไม่อยากแตะต้อง “สิ่งละอันพันละน้อย” จะนำเรื่องเหล่านี้มาทำให้อ่านง่าย เข้าใจง่าย เพื่อจะได้เป็นประโยชน์ในวงกว้างต่อไปภาคสรุปคำว่า “เจ็บหัวใจ” ในที่นี้ หมายถึง อาการที่เกิดขึ้นจากภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด (myocardial ischemia) หรือเรียกสั้น ๆว่า ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
192
เมษายน 2538
เจ็บหัวใจ (ตอนที่ 8)สัปดาห์ต่อมา คนไข้ก็กลับมาหาหมอใหม่ตามนัดพร้อมกับเอาขนมเค้กมาให้หมอด้วยคนไข้ : “สวัสดีหมอ”หมอ : “ขอบคุณครับ สบายขึ้นบ้างมั้ยครับ”คนไข้ : “สบายขึ้นมาก หมอเก่ง ชั้นเพิ่งนอนหลับได้สนิทเป็นครั้งแรกในช่วง3 ปีนี้ ไม่มีอาการเจ็บแน่นหน้าอกอีกเลย”หมอ : “หมอดีใจด้วย แล้วคุณเริ่มออกกำลังบ้างหรือยัง”คนไข้ : “เริ่มทำแล้ว ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
191
มีนาคม 2538
เจ็บหัวใจ (ตอนที่ 7)ตัวอย่างคนไข้รายที่4 หญิงจีนอายุ 64 ปี ถูกพามาที่ห้องฉุกเฉินในโรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่ง กลางดึกด้วยอาการแน่นหน้าอกและหายใจไม่ออกมาประมาณครึ่งชั่วโมงลูกชายซึ่งเป็นหมอเป็นคนพามาเอง และเล่าว่าลูกคนไข้ : “คุณแม่เป็นโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ เคยเกิดภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันเมื่อ2 ปีก่อน รักษากับอาจารย์ท่านหนึ่งอยู่เป็นประจำ แต่ช่วงนี้ท่านไปเมืองนอก ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
190
กุมภาพันธ์ 2538
เจ็บหัวใจ (ตอนที่ 6)สัปดาห์ต่อมา ชายร่างท้วมก็กลับมาหาหมอพร้อมกับผลตรวจเลือด คือ น้ำตาล 120 มก% (มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์) โคเลสเตอรอล 350 มก% ไตรกลีเซอไรด์ 300 มก% และครีอะตินีน 1.0 มก%ชาย : “สวัสดีครับหมอ ยาหมอนี่วิเศษจริงๆ พอมีอาการปุ๊บ ผมก็อมยาปั๊บ อาการก็หายภายใน1-2 นาที เหมือนโทรทัศน์เปิดปุ๊บติดปั๊บทีเดียวครับ”หมอ : “สวัสดีครับ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
189
มกราคม 2538
เจ็บหัวใจ (ตอนที่ 5)ผู้ป่วยรายนี้มาหาผมเพราะไม่แน่ใจว่าตนเองเป็นโรคอะไรกันแน่ เนื่องจากไปหาหมอแล้วหมอบอกว่าเป็นโรคกระเพาะ จึงจ่ายยาโรคกระเพาะมาให้ แต่ก็ไม่หาย จึงเปลี่ยนหมอผมได้ซักถามประวัติและตรวจร่างกายแล้ว การตรวจร่างกายไม่พบสิ่งผิดปกติ นอกจากความดันเลือดสูงเล็กน้อย(160/100) มีตุ่มไขมัน(xanthelasma)เล็กๆที่หนังตาซ้าย และผู้ป่วยค่อนข้างอ้วนหมอ : “จากการตรวจร่างกาย ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
188
ธันวาคม 2537
เจ็บหัวใจ (ตอนที่ 4)ตัวอย่างคนไข้รายที่ 3ชายไทยรูปร่างท้วม อายุ 40 กว่าปี หิ้วถุงเอกซเรย์และกระเป๋าเอกสารเข้ามาพบหมอชาย : “สวัสดีครับคุณหมอ ผมไม่ค่อยสบาย แต่ไม่ทราบว่าเป็นอะไรแน่ รักษามาหลายแห่งแล้ว อาการไม่ดีขึ้น จึงมาหาหมอ”หมอ : “สวัสดีครับ คุณเอาใบส่งตัวจากหมอคนเดิมมาด้วยหรือเปล่า”ชาย : “เปล่าครับ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
187
พฤศจิกายน 2537
เจ็บหัวใจ (ตอนที่ 3)ฉบับที่แล้วผมค้างไว้เรื่องตัวอย่างรายการตรวจสำหรับโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ พร้อมทั้งราคาโดยประมาณ เผื่อบางทีคนที่ชอบเป็นโรคหัวใจเห็นรายการตรวจแล้วอาจจะเลิกอยากเป็นโรคหัวใจก็ได้4. การถ่ายภาพรังสีของกล้ามเนื้อหัวใจหลังให้สารกัมมันตภาพรังสี (radionuclide cardiac imaging) : เช่น การฉีด thallium – 201 แล้วถ่ายภาพรังสีหัวใจเป็นระยะๆ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
186
ตุลาคม 2537
เจ็บหัวใจ (ตอนที่ 2)ตัวอย่างผู้ป่วยรายที่ 2หญิงไทยอายุ 45 ปี หน้าตามีแววกังวลและไม่สบาย เดินอย่างระโหยโรยแรงเข้ามาพบหมอหญิง : “อิชั้นมาขอตรวจโรคหัวใจค่ะ”หมอ : “ทำไมคุณรู้ว่าคุณเป็นโรคหัวใจครับ”หญิง : “อิชั้นไปตรวจมาหลายแห่งแล้วค่ะ ครั้งสุดท้ายที่โรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่ง หมอบอกว่าเป็นโรคหัวใจค่ะ และตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจด้วย ”หมอ : ...