โรคจากการทำงาน (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)

  • วารสารคลินิก 277 มกราคม 2551
    สวัสดีปีใหม่แด่ท่านผู้อ่านทุกท่าน ขออำนาจคุณพระศรีรัตนตรัยและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลาย ดลบันดาลให้ท่านผู้อ่านทุกท่านมีสุขภาพดี สามารถทำงานได้ประสบความสำเร็จดังตั้งใจหวัง และไม่เจ็บป่วยด้วยโรคจากการประกอบอาชีพ ตลอดปี 2551. อาชีวเวชศาสตร์ปริทัศน์ฉบับส่งท้ายปี ได้ตั้งความหวังไว้ว่า แพทย์ทุกสาขาวิชา รวมทั้งบุคลากรสาธารณสุขทั้งปวง จะได้มีโอกาสช่วยกันกับแพทย์อาชีวเวชศาสตร์มากขึ้นเรื่อยๆ ในการวินิจฉัย ...
  • วารสารคลินิก 276 ธันวาคม 2550
    14. ภัยพิบัติสารเคมีภัยพิบัติสารเคมี (chemical disasters) ในที่นี้ หมายถึง ภาวะที่มีผู้บาดเจ็บล้มตาย เป็นจำนวนมากจากสารเคมีหรือสารพิษ (hazardous materials, HazMat) ซึ่งอาจเกิดจาก1. ภัยพิบัติตามธรรมชาติ เช่น สารพิษหรือเถ้าถ่านและควันพิษจากภูเขาไฟระเบิด หรือไฟป่า การกินเห็ดพิษ หน่อไม้ปี๊บ อาหารกระป๋อง ฯลฯ ที่มีสารพิษอยู่ เช่น กรณีหน่อไม้ปี๊บเป็นพิษที่จังหวัดน่าน จนมีผู้ป่วยกว่า 100 คน ...
  • วารสารคลินิก 276 ธันวาคม 2550
    สิ่งที่ "ดีที่สุด" สำหรับผู้ป่วย คือ การวินิจฉัยโดยแพทย์ว่าเป็นโรคจากการทำงาน เพื่อจะได้สามารถเบิกจ่ายเงินทดแทน และค่ารักษาพยาบาลจากกองทุนเงินทดแทนได้ และถ้าหากแพทย์ทำการรายงานโรคที่พบไปยังกองทุนเงินทดแทน และสำนักระบาดวิทยา ก็จะเป็นประโยชน์ต่อการสำรวจหากลุ่มเสี่ยงที่รอจะเป็นโรคนี้ โดยเฉพาะเพื่อนร่วมงานของผู้ตายหรือผู้ป่วย ...
  • วารสารคลินิก 275 พฤศจิกายน 2550
    ต้นเรื่องผู้เขียนได้เคยเขียนบทความอาชีวเวชศาสตร์ปริทัศน์ เมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2549 เกี่ยวกับการเฝ้าระวังโรคจากการประกอบอาชีพ กลุ่มโรคระบบทางเดินหายใจว่า "ผู้เขียนเชื่อว่าแพทย์โรคทางหายใจมีโอกาสได้พบเห็นผู้ป่วยที่มีสาเหตุการเจ็บป่วยจากสิ่งแวดล้อมหรือการทำงานมากกว่าแพทย์สาขาอื่น ถ้าแพทย์สาขานี้มีความ "ฉุกคิด"หรือตระหนักถึงสาเหตุของโรค ...
  • วารสารคลินิก 275 พฤศจิกายน 2550
    "โคไง" ในภาษาญี่ปุ่นแปลว่า "มลพิษต่อมหาชน" คำนี้เตือนใจให้รำลึกถึง ผู้ป่วย...โรค "อีไต อีไต" โรค "มินามาตะ" เมื่อกว่า 30 ปีมาแล้วในประเทศญี่ปุ่นเมื่อพ.ศ. 2507 ครั้งที่โตเกียวเป็นเจ้าภาพกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน คนญี่ปุ่นเดินถนนโดยต้องสวมหน้ากากป้องกันมลพิษ มินามาตะเป็นโรคพิษสารปรอทที่ทำให้คนญี่ปุ่นนับพันพิกลพิการจากระบบประสาทถูกทำลายรุนแรง ...
  • วารสารคลินิก 272 สิงหาคม 2550
    ช่วงปลายเดือนมิถุนายนต่อต้นเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา มีข่าวใหญ่ 2 ข่าวเกิดขึ้นในลักษณะที่คล้ายกัน คือ ชายหนุ่ม "คนดัง" ขับรถแล้วเกิดเหตุไม่คาดคิดบนท้องถนน ทิ้งความสงสัยไว้กับผู้คนทั้งประเทศ ว่าชายหนุ่มทั้งสองนั้นสมควรที่จะขับรถหรือไม่. เมื่ออ่านข่าวทั้งสองแล้ว ผู้เขียนอดไม่ได้ที่จะนึกถึงภารกิจหนึ่งของแพทย์อาชีวเวชศาสตร์ที่เรียกว่าการประเมิน "Fitness for work" ...
  • วารสารคลินิก 270 มิถุนายน 2550
    ช่วงต้นปีพ.ศ. 2550 มีการนำเสนอข่าวเกี่ยวกับมลภาวะบริเวณรอบนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด อำเภอเมือง จังหวัดระยองอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะประเด็นการเจ็บป่วยด้วยโรคมะเร็งของประชาชนที่อาศัยโดยรอบเขตนิคมฯ และในที่สุดก็กลายเป็นประเด็น "ระดับชาติ" เป็นผลให้รองนายกรัฐมนตรีแต่งตั้งคณะทำงานเฉพาะกิจ 2 ชุด ชุดหนึ่งมีภารกิจในการดำเนินการแก้ไขปัญหาการปนเปื้อนของสารเคมีจากโรงงานอุตสาหกรรมสู่สิ่งแวดล้อม ...
  • วารสารคลินิก 269 พฤษภาคม 2550
    ...
  • วารสารคลินิก 267 มีนาคม 2550
    อาชีวเวชศาสตร์ปริทัศน์สองฉบับแรกของปี ได้นำเสนอประวัติการเจ็บป่วยของผู้ป่วยชายไทย คนหนึ่งซึ่งไปรับการรักษาที่โรงพยาบาลทั่วไปแห่งหนึ่งด้วยอาการสำคัญ คือ ปวดท้องมากมาเป็นเวลา 1 วัน ในที่สุดอายุรแพทย์ก็วินิจฉัยได้ว่าผู้ป่วยมีอาการพิษตะกั่วเฉียบพลันและได้ให้ยาขับตะกั่วจนผู้ป่วยมีอาการดีขึ้นและกลับบ้านได้หลังเข้ารับการรักษาตัว 12 วัน. บทความตอนนี้ จะได้กล่าวถึงบทบาทของแพทย์อาชีวเวชศาสตร์ ...
  • วารสารคลินิก 266 กุมภาพันธ์ 2550
    คอมพิวเตอร์ได้มีบทบาทต่อชีวิตประจำวันของทุกคน เช่น การเรียน ทำงาน การค้นคว้า การสื่อสาร และความบันเทิง. Computer vision syndrome (CVS) เป็นกลุ่มอาการของตาและสายตาที่เกิดจากการใช้คอมพิวเตอร์ อาการจะเพิ่มมากขึ้นเมื่อใช้เวลากับคอมพิวเตอร์นานมากขึ้น. อาการของ Computer vision syndromeจะมีอาการเมื่อยล้าตา ปวดตา เคืองตา ตาแห้ง น้ำตาไหล ตามัว เห็นภาพซ้อน ปวดคอ ...