ดูแลสุขภาพ (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)

  • วารสารคลินิก 289 มกราคม 2552
    ภาวะฉุกเฉินของโรคทางอายุรกรรมภาวะหนึ่งคือ ภาวะการติดเชื้อแบคทีเรียในร่างกาย (sepsis) และภาวะช็อกจากการติดเชื้อแบคทีเรียในร่างกาย (septic shock) เนื่องจากเป็นภาวะเร่งด่วนที่ต้องได้รับการวินิจฉัยและการรักษาอย่างทันท่วงที เพราะมีอัตราการเสียชีวิตสูง แม้จะได้รับการรักษาอย่างทันท่วงทีและเหมาะสมแล้วก็ตาม. ในวารสารคลินิกฉบับเดือนกันยายน ปี พ.ศ. 2550 ได้มีการทบทวนเรื่องดังกล่าวแล้ว อย่างไรก็ดี ในปี ...
  • วารสารคลินิก 289 มกราคม 2552
    การล้างจมูก เป็นการชะล้างเอาน้ำมูก หนอง สิ่งสกปรกในจมูก ซึ่งเกิดจากการอักเสบในโพรงจมูกและไซนัส หรือคราบสะเก็ดแข็งของเยื่อบุจมูกหลังการผ่าตัดจมูกและไซนัส หรือหลังการฉายแสงออก ด้วยน้ำเกลืออุ่นๆ เพื่อให้โพรงจมูกและบริเวณรูเปิดของไซนัสโล่ง ทำให้บรรเทาอาการคัดจมูก น้ำมูกไหล ทั้งที่ไหลออกมาข้างนอก และไหลลงคอ. การล้างจมูกจึงมีประโยชน์ในผู้ป่วยที่เป็นโรคจมูกอักเสบจากการติดเชื้อ หรือ "หวัด", ...
  • วารสารคลินิก 289 มกราคม 2552
    การสูดไอน้ำร้อนเป็นวิธีการที่แพทย์แผนปัจจุบันและแพทย์แผนไทย หรือการแพทย์ทางเลือก แนะนำให้ผู้ป่วยทำเป็นประจำ เพื่อให้จมูกโล่ง หายใจได้สะดวกขึ้น รักษาอาการคัดจมูก น้ำมูกไหล ที่เกิดจากโรคจมูกอักเสบจากภูมิแพ้, โรคจมูกอักเสบชนิดไม่แพ้, โรคหวัด หรือโรคไซนัสอักเสบ รักษาอาการปวดตื้อๆ ที่ศีรษะซึ่งเกิดจากการไหลเวียนของอากาศในไซนัสที่ไม่ดีจากเยื่อบุจมูกที่บวมไปอุดกั้นรูเปิดของไซนัสในโพรงจมูก ...
  • วารสารคลินิก 289 มกราคม 2552
    "ทุกวันนี้ พี่จะไม่ไหวแล้วค่ะคุณหมอ...  พูดเท่าไหร่ คุณพ่อก็ไม่เคยฟัง"ในปัจจุบันจำนวนผู้ป่วยที่ต้องการได้รับการดูแลจากผู้ดูแล (Caregiver) เพิ่มมากขึ้นด้วยสาเหตุและปัจจัยหลายอย่าง เช่น อายุยืนยาวขึ้น (ด้วยสุขภาพที่ย่ำแย่) โรคสมองเสื่อมเพิ่มขึ้นตามอายุที่เพิ่ม จำนวนอุบัติเหตุเพิ่มขึ้นทำให้มีผู้พิการสูงขึ้น การเกิดอัมพฤกษ์และอัมพาตจากเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่เป็นมานาน ...
  • วารสารคลินิก 289 มกราคม 2552
    3.3 วิธีบรรเทาอาการคลื่นไส้อาเจียน(1) การรักษาสาเหตุ ซึ่งส่วนใหญ่มักจะผ่านพ้นไปแล้ว เช่น การให้ยาฆ่ามะเร็ง ("เคโม") การฉายแสง หรือมักจะรักษาไม่ได้ เช่น มีพยาธิสภาพรุนแรงในช่องท้อง หรือในสมอง แต่บางอย่างก็รักษาสาเหตุได้ เช่น กระเพาะอาหารอักเสบ (จากยาหรือโรคของตนเอง) ก็ให้ยาลดกรดและยาเคลือบกระเพาะ อาการท้องผูกก็ให้ยาระบายหรือสวนอุจจาระออก เป็นต้น.(2) การใช้ยา เช่น ...
  • วารสารคลินิก 289 มกราคม 2552
    Q  :   การวินิจฉัยทาง pathology ทำอย่างไรA  :  GIST ส่วนใหญ่จะมีลักษณะทาง histology 3 แบบ คือ161. Spindle cells เป็นส่วนใหญ่ (เป็นลักษณะที่พบบ่อยที่สุด).2. Epithelioid cells เป็นส่วนใหญ่.3. ผสมกันทั้ง spindle cells และ epithelioid ...
  • วารสารคลินิก 289 มกราคม 2552
    de Jong YP, Uil SM, Grotjohan HP, et al. Oral or IV prednisolone in the treatment of COPD exacerbations : a randomized, controlled, double-blind study. Chest 2007; 132:1741-7. ผู้ป่วย COPD ทีมีอาการหอบเหนื่อยรุนแรง ต้องเข้านอนรักษาในโรงพยาบาล การให้ยา systematic steroid ช่วยลดความทรมานของผู้ป่วยได้รวดเร็ว สามารถกลับบ้านเร็วและลดอัตราการเป็นซ้ำ แม้ว่าข้อแนะนำในการรักษาให้ใช้ยา prednisolone ...
  • วารสารคลินิก 289 มกราคม 2552
    ถาม  :  ผู้ป่วยไปซื้อยากินเอง เดิมไม่เคยมีประวัติแพ้ยามาก่อน แต่ครั้งนี้เกิดแพ้ยาแบบรุนแรงแบบ Stevens-Johnson syndrome ผู้ป่วยมีสิทธิฟ้องเรียกค่าเสียหายจากผู้ที่จำหน่ายยาหลายสิบล้านบาทแบบฟ้องแพทย์ได้หรือไม่ ผู้ที่จำหน่ายยาต้องรับผิดชอบแบบแพทย์หรือไม่ ...
  • วารสารคลินิก 288 ธันวาคม 2551
    ในปัจจุบันพบว่ามีจำนวนผู้ป่วยโรคจิตในหมู่บ้านชนบทมากขึ้น. ผู้ป่วยเหล่านี้มีปัญหาในการเข้าถึงบริการ เนื่องจากโรงพยาบาลชุมชนส่วนใหญ่ยังไม่สามารถทำการวินิจฉัย และให้การรักษาพยาบาลแก่ผู้ป่วยจิตเวชได้ ผู้ป่วยจำเป็นต้องเดินทางไปรักษาที่โรงพยาบาลเฉพาะทางจิตเวชหรือโรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไปที่มีจิตแพทย์อยู่ประจำ ซึ่งมีอยู่ไม่ครบทุกจังหวัด. มีผู้ป่วยจิตเวชจำนวนไม่น้อยที่ขาดการวินิจฉัยตั้งแต่แรก ...
  • วารสารคลินิก 288 ธันวาคม 2551
    แพทย์และพยาบาลเวชศาสตร์ฉุกเฉินแพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉิน ("หมอฉุกเฉิน") เป็นแพทย์ที่จะได้ตรวจรักษาผู้ป่วยที่ตายแล้ว (DOA, death on arrival) กำลังจะตาย (dying) ใกล้ตายหรือระยะสุดท้าย (terminal or end-of-life) เจ็บหนักวิกฤต (critical) และผู้ป่วยเฉียบพลันกับเรื้อรังต่างๆ ในช่วงเดียวกันหรือติดๆ กัน มากกว่าแพทย์เฉพาะทางสาขาอื่นๆ พยาบาลเวชศาสตร์ฉุกเฉิน ("พยาบาลฉุกเฉิน") ...