ดูแลสุขภาพ (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)

  • วารสารคลินิก 293 พฤษภาคม 2552
    ผู้ป่วยชายไทย อายุ 87 ปี มีประวัติของ Chronic kidney disease (CKD) ถูกส่งตัวมาจากโรงพยาบาลประจำจังหวัดด้วยอาการซึมและสับสน หลังเข้ารับรักษาด้วยการผ่าตัด  ดามแขนที่หักจากการลื่นล้ม ภายหลังเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยได้ 72 ชั่วโมง ผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยว่ามีอาการของปอดอักเสบจากการติดเชื้อและมีภาวะ acute renal failure ร่วมด้วยจากการวิเคราะห์ผลตรวจทางจุลชีววิทยาจากเสมหะพบเชื้อ ...
  • วารสารคลินิก 292 เมษายน 2552
    ในปัจจุบันการศึกษาประสิทธิผลของยาในการรักษา สามารถสรุปความเกี่ยวเนื่องกันได้เป็นสองกระบวนการใหญ่ๆ คือ เภสัชจลนศาสตร์ (pharmacokinetics) และเภสัชพลศาสตร์ (pharmacodynamics) ในการบริหารยาโดยวิธีรับประทานนั้น ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาส่วนใหญ่มักขึ้นกับปริมาณที่ยาสามารถถูกดูดซึมผ่านลำไส้อย่างเพียงพอเข้าสู่ร่างกาย และมีการกระจายตัวไปยังตำแหน่งของการออกฤทธิ์ ก่อนที่จะถูกกำจัดออกจากร่างกายโดยกระบวนการ ...
  • วารสารคลินิก 292 เมษายน 2552
    Q  :  วินิจฉัย varicose vein ได้อย่างไรA :   เริ่มต้นด้วยการซักประวัติ โดยซักถึง onset,ปัจจัยเสี่ยง(เช่น พันธุกรรม, อาชีพ, อุบัติเหตุที่ขา), ประวัติอาการบวม, ประวัติการรักษาเกี่ยวกับโรคหลอดเลือดขอด และประวัติการเป็น deep vein thrombosis ซึ่งก็คือการซักเพื่อจะแยกระหว่าง primary กับ secondary varicose vein ...
  • วารสารคลินิก 292 เมษายน 2552
    โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (Chronic Obstructive Pulmonary Disease : COPD) เป็นโรคที่เกิดจากการที่ผู้ป่วยได้รับสารพิษเรื้อรัง เช่น ควันบุหรี่ มลพิษทางอากาศ ฯลฯ ผ่านระบบทางเดินหายใจ กระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายจนหลั่ง proinflammatory mediator จึงเกิดการอักเสบขึ้นในหลอดลมและลามไปถึงเนื้อปอด. สำหรับหลักการรักษาผู้ป่วย COPD ...
  • วารสารคลินิก 292 เมษายน 2552
    Q  :   อยากทราบว่ายาหยอดตาที่เปิดใช้แล้ว ...
  • วารสารคลินิก 291 มีนาคม 2552
    ถาม  :  การใช้ยาเพื่อป้องกัน stress ulcer ที่เหมาะสมเป็นอย่างไรตอบ  :  Stress-related mucosal damage (SRMD) หรือ stress ulcer เป็นภาวะเครียดของร่างกายที่ทำให้เยื่อบุทางเดินอาหารบาดเจ็บ ร้อยละ 75-100 ของผู้ป่วยวิกฤต จะเกิด SRMD ซึ่งโดยทั่วไปจะไม่มีอาการ. อย่างไรก็ตาม ผู้ป่วยอาจมีอาการเลือดออกได้ overt Stress-Related Mucosal Bleeding (overt SRMB) หรือ ...
  • วารสารคลินิก 290 กุมภาพันธ์ 2552
    ถาม  : ทำไมยาเม็ดบางอย่างไม่สามารถบดให้กับผู้ป่วยได้ ตอบ  :  ยาในรูปแบบเม็ดนั้นมีอยู่ด้วยกันหลายชนิด1. ยาออกฤทธิ์เนิ่น (sustained  release) เช่น ชื่อยาที่มีคำต่อท้ายว่า CR, MR, SR, XL ซึ่งถูกออกแบบมาเพื่อปลดปล่อยตัวยาช้าๆ และต่อเนื่อง. ตัวอย่างเช่น Adalat CR, Diamicron MR, Klacid MR, Neulin SR, Xatral XL  ...
  • วารสารคลินิก 290 กุมภาพันธ์ 2552
    น้องสาว : "อาแบ (พี่ชาย) ไม่ยอมกินยาเลยค่ะหมอ หนูไม่รู้จะทำยังไงแล้ว หมอช่วยดูหน่อยแล..."ผู้ป่วย :"ก็ที่อาแบ (พี่ชาย) ไม่หาย เพราะยาที่ยอ (หมอ) ให้กินหรือเปล่า.."หมอแต่ละคนคงเคยมีประสบการณ์กับคนไข้ที่ไม่ยอมให้ความร่วมมือในการรักษาพยาบาล (Non-compliance patient) ไม่ว่าจะเป็น... ไม่ยอมกินยาที่แพทย์สั่งให้ ไม่มาตามนัด ไม่ควบคุมอาหารตามคำแนะนำ ไม่ยอมทำแผลอย่างที่สั่งไป ...
  • วารสารคลินิก 290 กุมภาพันธ์ 2552
    "โศก เศร้า เหงา กลัว"ไม่ใช่ว่าผมกำลังจะชวนคุณหมอไปชมภาพยนตร์เรื่องใหม่กันหรอกนะครับ แต่ปิยวาจาทางคลินิกฉบับนี้เรากำลังจะมาคุยกันถึงเรื่องปฏิกิริยา ทางอารมณ์บางอย่างของคนไข้ต่างหาก.ก่อนอื่นเลย ผมคงต้องถามคุณหมอว่า ในชีวิตการเป็นแพทย์คุณหมอออกโอพีดีตรวจคนไข้ แล้วเจอคนไข้มานั่งร้องไห้กับคุณหมอหรือไม่ ? เคยเจอกี่รายครับ ...
  • วารสารคลินิก 290 กุมภาพันธ์ 2552
    ตัวอย่างผู้ป่วยหญิงไทยอายุ 26 ปี มาด้วยอาการเป็นลม หมดสติหลายครั้งในช่วง 2 สัปดาห์ก่อนมาโรงพยาบาล โดยเกิดอาการเป็นลมหมดสติวันละ 3-4 ครั้ง ครั้งละประมาณ 2 นาที. อาการเป็นลมมักเกิดเมื่อผู้ป่วย หันศีรษะไปด้านใดด้านหนึ่ง ขณะที่มีอาการหมดสติไม่พบว่าผู้ป่วยมีอาการชักเกร็งหรือน้ำลายฟูมปาก แต่อย่างใด ...