ดูแลสุขภาพ (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)

  • วารสารคลินิก 282 มิถุนายน 2551
    ศตวรรษที่ 13 ศัลยแพทย์ชื่อ Theodoric Burgognoni (1205-1298) แนะนำให้ล้างแผลโดย จุ่มลงไปในไวน์จะทำให้แผลไม่เกิดหนอง แต่ตอนนั้นไม่มีใครทราบว่าเหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น ต่อมา Sir John Pringle (1707-1782) แพทย์ชาวอังกฤษเริ่มศึกษาเรื่องนี้อย่างจริงจังและบทความของเขาชื่อ "Experiments Upon Septic and Antiseptic Substance" ได้รับการตีพิมพ์ในวารสาร Philosophical Transactions ซึ่งมีการใช้คำว่า ...
  • วารสารคลินิก 282 มิถุนายน 2551
    Disclaimer : รายงานการศึกษาวิจัยทางการแพทย์มีมากมายมหาศาล ในขณะนี้เป็นสิ่งที่ต้องติดตามเป็นอย่างยิ่ง คอลัมน์นี้ได้สรุปรายงานการศึกษาที่น่าสนใจที่ลงในวารสารทางการแพทย์ที่ผ่าน peer review มาให้สมาชิกทราบ แต่ข้อพึงระวังคือ ไม่ใช่ว่าทุกอย่างที่มีการรายงานการศึกษาจะมีความถูกต้องเป็น สัจจะ เพราะไม่มีอะไรถูกต้องร้อยเปอร์เซ็นต์ ในทางการแพทย์ ความรู้ ความเชื่อ ณ วันนี้อาจได้การยอมรับ แต่ความรู้ใหม่ๆ ...
  • วารสารคลินิก 281 พฤษภาคม 2551
    ความเชื่อที่ผิดและคำถามที่พบบ่อยเกี่ยวกับโรคสิว (Acne Myths and FAQs) เนื่องจากโรคสิวเป็นโรคที่พบบ่อยและบางครั้งก่อความกังวลให้แก่ผู้ป่วย อีกทั้งผู้ป่วยอาจมีความเชื่อที่ผิดเกี่ยวกับโรคสิว แพทย์จึงควรให้สุขศึกษาที่ถูกต้องกับผู้ป่วย ขอยกตัวอย่างความเชื่อที่ผิดและคำถามที่พบบ่อยเกี่ยวกับโรคสิว ดังนี้ความเชื่อที่ผิดเกี่ยวกับโรคสิว ฝุ่นละอองและสิ่งสกปรกเป็นสาเหตุของสิว จึงควรล้างหน้าฟอกสบู่บ่อยๆ ...
  • วารสารคลินิก 281 พฤษภาคม 2551
    ปัจจุบันผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในประเทศไทยมีปริมาณเพิ่มมากขึ้นทุกปี แพทย์และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ความสนใจเกี่ยวกับปัญหาการทำงานของไตในผู้ป่วยมากขึ้น. ปัญหาหนึ่งที่พบได้บ่อยในทางเวชปฏิบัติคือ การเลือกการส่งตรวจทางรังสีในผู้ป่วยกลุ่มดังกล่าว เนื่องจากเป็นที่ทราบกันดีว่าผู้ป่วยกลุ่มนี้มักจะเกิดปัญหาหลังการได้รับการฉีดสารทึบรังสีจากการส่งตรวจ Computer tomography (CT scan) หรือ angiography ...
  • วารสารคลินิก 281 พฤษภาคม 2551
    วัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ : การลงทุนทางสาธารณสุขเสริมความมั่นคงชาติไวรัสไข้หวัดใหญ่เป็นสาเหตุที่สำคัญของการเกิดโรคระบบทางเดินหายใจแบบเฉียบพลัน พบได้บ่อยในคนทุกกลุ่มอายุ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเด็กและผู้สูงอายุ ซึ่งเป็นกลุ่มที่มีความรุนแรงของโรคสูงจากการมีภาวะแทรกซ้อน ลักษณะของการเกิดโรคและลักษณะของกลุ่มเสี่ยงในแต่ละประเทศจะคล้ายคลึงกันทั่วโลก โดยทั่วไปจะพบการเกิดโรคประมาณร้อยละ 10-20 ของประชากร ...
  • วารสารคลินิก 281 พฤษภาคม 2551
    Disclaimer : รายงานการศึกษาวิจัยทางการแพทย์มีมากมายมหาศาล ในขณะนี้เป็นสิ่งที่ต้องติดตามเป็นอย่างยิ่ง คอลัมน์นี้ได้สรุปรายงานการศึกษาที่น่าสนใจที่ลงในวารสารทางการแพทย์ที่ผ่าน peer review มาให้สมาชิกทราบ แต่ข้อพึงระวังคือ ไม่ใช่ว่าทุกอย่างที่มีการรายงานการศึกษาจะมีความถูกต้องเป็น สัจจะ เพราะไม่มีอะไรถูกต้องร้อยเปอร์เซ็นต์ ในทางการแพทย์ ความรู้ ความเชื่อ ณ วันนี้อาจได้การยอมรับ แต่ความรู้ใหม่ๆ ...
  • วารสารคลินิก 281 พฤษภาคม 2551
    การตรวจวินิจฉัยผู้ป่วย laryngeal massถาม ชายไทยอายุ 70 ปี มาตรวจด้วยสงสัย laryngeal mass ขอเรียนถามดังนี้1. ควรตรวจหรือ investigate อะไรบ้าง.2. การทำ CT larynx จะช่วยให้ข้อมูลและประโยชน์ในการรักษา/การวางแผนการรักษาบ้างในลักษณะใด.สมาชิกประจำตอบ ในกรณีที่สงสัยว่ามีก้อนที่บริเวณกล่องเสียง มีวิธีการตรวจดังนี้ คือ1. สิ่งที่ควรทำอย่างยิ่ง คือ การส่องกล้อง laryngoscope ...
  • วารสารคลินิก 280 เมษายน 2551
    การบาดเจ็บจากการถูกสัตว์หรือมนุษย์กัดเป็นปัญหาที่พบบ่อยในห้องฉุกเฉิน. ในประเทศสหรัฐอเมริกา พบการเข้าใช้บริการในห้องฉุกเฉินเนื่องจากถูกสัตว์กัดประมาณร้อยละ 1 ต่อปี1-4 ที่ห้องฉุกเฉินโรงพยาบาลรามาธิบดีพบประมาณเดือนละ 60 ราย คิดเป็นประมาณร้อยละ 1 เช่นกัน. สถิติการถูกกัดที่แท้จริงย่อมมากกว่านี้ เนื่องจากหลายครั้งที่ถูกกัดแล้วผู้ ถูกกัดไม่ได้มาพบแพทย์. ...
  • วารสารคลินิก 280 เมษายน 2551
    ต้นแบบการดูแลโรคเรื้อรัง : นวัตกรรมเพื่อความแข็งแกร่งของระบบสุขภาพปฐมภูมิ Chronic care model : improving primary care for patient with chronic illnessบทความนี้เป็นมุมมองหนึ่งของแพทย์ที่ปฏิบัติงานให้บริการสุขภาพปฐมภูมิ ที่ต้องการสื่อให้เพื่อนแพทย์ และบุคลากรทางการแพทย์ ได้เห็นความสำคัญ เตรียมรับมือกับปัญหาโรคเรื้อรัง ซึ่งมีแนวโน้มตัวเลขผู้ป่วยเพิ่มขึ้น และตัวเลขค่ารักษาพยาบาลสูงขึ้น ...
  • วารสารคลินิก 280 เมษายน 2551
    ปัจจุบันความก้าวหน้าในวิทยาการ ทางการแพทย์ทำให้สามารถช่วยชีวิต ผู้ป่วยให้อยู่รอดได้มากขึ้น. โดยตลอดระยะเวลา 50 ปีที่ผ่านมา มีความเชื่อว่าวิทยาการทางการแพทย์เหล่านี้สามารถจัดการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายของผู้ป่วยได้อย่างราบรื่น. แต่ในความจริงแล้วเป็นสิ่งยากที่สุดที่บุคคลรอบข้าง เช่น ญาติ ครอบครัว คู่สมรส ตลอดจนบุคลากรทางการแพทย์จะรับมือกับการสูญเสีย ...