ดูแลสุขภาพ (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)

  • วารสารคลินิก 275 พฤศจิกายน 2550
    "เข้าใจ-เข้าถึง-พัฒนา" คือยุทธศาสตร์ที่ในหลวงทรงชี้แนะในการแก้ปัญหาความรุนแรงในภาคใต้.หลักคิดข้อนี้ ก็สามารถนำมาใช้ในการดูแลผู้ป่วยโดยเฉพาะอย่างยิ่ง สำหรับกลุ่มผู้ป่วยที่จำเป็นต้องมีการปรับ (พัฒนา) พฤติกรรมสุขภาพตัวอย่างเช่น การดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ซึ่งส่วนใหญ่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ตามเป้าหมาย ผู้ให้บริการมักจะรู้สึกหงุดหงิดกับผู้ป่วยที่ "ดื้อ" ไม่ยอมปรับพฤติกรรม ...
  • วารสารคลินิก 275 พฤศจิกายน 2550
    12. ภัยพิบัติจราจรภัยพิบัติจราจร (traffic disaster) ในที่นี้หมายถึง ภาวะที่มีการบาดเจ็บล้มตายเป็นจำนวนมากจากอุบัติภัยในการเดินทางโดยยานพาหนะต่างๆ ทั้งทางบก ทางน้ำ และทางอากาศ จากการชนกัน การพลิกคว่ำ การตกราง(รถไฟ รถราง)/ตกเหว/ตกน้ำ/ตกสู่พื้นดิน การเกิดเพลิงไหม้ หรือการระเบิด (จากตัวเครื่องเอง/สิ่งของที่บรรทุกมา/การก่อการร้าย หรืออื่นๆ) เป็นต้นในประเทศไทย มีผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุจราจรประมาณ ...
  • วารสารคลินิก 275 พฤศจิกายน 2550
    Disclaimer : รายงานการศึกษาวิจัยทางการแพทย์มีมากมายมหาศาล ในขณะนี้เป็นสิ่งที่ต้องติดตามเป็นอย่างยิ่ง คอลัมน์นี้ได้สรุปรายงานการศึกษาที่น่าสนใจที่ลงในวารสารทางการแพทย์ที่ผ่าน peer review มาให้สมาชิกทราบ แต่ข้อพึงระวังคือ ไม่ใช่ว่าทุกอย่างที่มีการรายงานการศึกษาจะมีความถูกต้องเป็น สัจจะ เพราะไม่มีอะไรถูกต้องร้อยเปอร์เซ็นต์ ในทางการแพทย์ ความรู้ ความเชื่อ ณ วันนี้อาจได้การยอมรับแต่ความรู้ใหม่ๆ ...
  • วารสารคลินิก 275 พฤศจิกายน 2550
    Q อยากทราบว่าในคนปกติจำเป็นต้องไปตรวจสุขภาพตาเป็นประจำหรือไม่ หรือในกรณีใดจึงต้องไปพบจักษุแพทย์เพื่อตรวจสุขภาพตารัชดาภรณ์ ตันติมาลาA การตรวจสุขภาพตาจะช่วยให้ผู้ป่วยสามารถตรวจพบความผิดปกติของตาได้ตั้งแต่ในระยะต้น ซึ่งอาจสามารถทำให้ได้รับการรักษาได้อย่างมีประสิทธิภาพมากกว่าเมื่อปล่อยให้เป็นโรคตาในระยะรุนแรง แนวทางการตรวจสุขภาพตาที่แนะนำได้แก่- สังเกตลูกของเราด้วยตัวเราเอง ถ้ามีลักษณะลูกตาผิดปกติ ...
  • วารสารคลินิก 287 พฤศจิกายน 2550
    เราคุยกันเรื่องการสื่อสารกับคนไข้กรณีต่างๆ ในปิยวาจาคลินิกมาหลายฉบับอย่างต่อเนื่อง ยังมีเรื่องราวของการสื่อสารกับคนไข้ในกรณียากๆ ให้คุยกันอีกหลายประเด็นครับ. สำหรับฉบับนี้ผมขออนุญาตมาทบทวนเรื่องการสื่อสารกับคนไข้กันสักหน่อย เนื่องจากมีน้องแพทย์จบใหม่หลายท่านส่งอีเมล์ถามไถ่กันมา.จุดประสงค์หลักของบทความเดือนนี้ นอกจากจะมาร่วมกันทบทวนเรื่องการสื่อสารกับคนไข้แล้ว ...
  • วารสารคลินิก 274 ตุลาคม 2550
    NSAIDs หรือยาต้านอักเสบที่ไม่ใช่สตีรอยด์เป็นกลุ่มยาที่ใช้กันมากทั้งในโรงพยาบาลและหน่วยบริการปฐมภูมิ. นอกจากใช้รักษาโรคข้ออักเสบแล้ว ยังนิยมใช้บรรเทาอาการปวด ลดไข้ แทนพาราเซตามอล โดยเฉพาะอย่างยิ่งใช้บรรเทาปวดข้อ ปวดหลัง ปวดเมื่อย ซึ่งเป็นอาการที่พบบ่อยในเวชปฏิบัติประจำวัน. เป็นที่ทราบกันทั่วไปว่า ยากลุ่มนี้เมื่อใช้ประจำมีความเสี่ยงต่อการเกิดแผลเพ็ปติก และภาวะเลือดออกในทางเดินอาหารส่วนต้น ...
  • วารสารคลินิก 274 ตุลาคม 2550
    Respiratory failure in children : recognition and initial managementเมื่อพบผู้ป่วยที่มีอาการหอบเหนื่อย หายใจเร็ว หายใจลำบาก หรือต้องออกแรงในการหายใจมากกว่าปกติ จะต้องคิดไว้เสมอว่าความรุนแรงของอาการเหล่านั้น อาจจะถึงขั้นที่เรียกว่ามีภาวะการหายใจล้มเหลว (respiratory failure) ซึ่งมีโอกาสเกิดขึ้นได้ในทุกๆ ขณะ. ดังนั้นจึงควรสังเกตอาการของผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด ...
  • วารสารคลินิก 274 ตุลาคม 2550
    สาเหตุของการอาเจียนโดยทั่วไปมักแบ่งลักษณะการอาเจียนเป็น 2 กลุ่มดังนี้1. Nonbilious vomiting ไม่ว่าการอาเจียนจะมีสาเหตุจากอะไรก็ตาม จะมีสิ่งที่อยู่ในลำไส้เล็กไหลย้อนกลับเข้าไปในกระเพาะอาหาร แต่ถ้าสาเหตุนั้นไม่ได้เกิดจากภาวะลำไส้อุดกั้นที่ต่ำกว่า ampulla of Vater มักจะยังมี antegrade intestinal flow ทำให้น้ำดีส่วนใหญ่ไหลลงสู่ลำไส้เล็ก ดังนั้นสิ่งที่อาเจียนออกมาจึงไม่มีน้ำดีปน กลุ่มโรคที่ทำให้มี ...
  • วารสารคลินิก 274 ตุลาคม 2550
    ในการประเมินผู้ป่วยที่มาด้วยปัญหาหลงลืม ทั้งตั้งแต่แรกเริ่มวินิจฉัยและเมื่อติดตามดูแลรักษาผู้ป่วย แพทย์ควรตั้งหัวข้อประเมินผู้ป่วย ใน 3 แนวทางเสมอ1. ประเมินด้าน cognition.2. ประเมินอาการทางประสาทจิตเวช (neuropsychiatric, NP).3. ประเมินความสามารถในการช่วยเหลือตัวเองในกิจวัตรประจำวัน (activity of daily living, ADL).นอกจากนี้แพทย์ควรประเมิน ...
  • วารสารคลินิก 274 ตุลาคม 2550
      ภาพที่ 1. ระดับช่องกระดูกไขสันหลัง L3-L4 เป็นตำแหน่งที่นิยมเลือกทำ spinal anesthesia.Q Spinal anesthesia คืออะไรA Spinal anesthesia คือการฉีดยาชาเฉพาะที่เข้า subarachnoid space โดยยาชาเฉพาะที่จะเข้าไปอาบที่ ...