ดูแลสุขภาพ (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)

  • วารสารคลินิก 265 มกราคม 2550
      ภาพที่ 1. รูปแบบและหลักการทำงานของ protein microarray.บทนำเทคโนโลยีการตรวจวิเคราะห์ยีนและการแสดงออกของยีนในระดับจีโนม (genomics) ด้วยเทคนิค DNA microarray นับเป็นนวัตกรรมที่นำมาใช้ประโยชน์อย่างแพร่หลาย ในช่วง 20 กว่าปีที่ผ่านมา โดยเฉพาะการศึกษาการทำงานของยีนที่ก่อให้เกิดโรค ...
  • วารสารคลินิก 265 มกราคม 2550
    Disclaimer : รายงานการศึกษาวิจัยทางการแพทย์มีมากมายมหาศาล ในขณะนี้เป็นสิ่งที่ต้องติดตามเป็นอย่างยิ่ง คอลัมน์นี้ได้สรุปรายงานการศึกษาที่น่าสนใจที่ลงในวารสารทางการแพทย์ที่ผ่าน peer review มาให้สมาชิกทราบ แต่ข้อพึงระวังคือ ไม่ใช่ว่าทุกอย่างที่มีการรายงานการศึกษาจะมีความถูกต้องเป็นสัจจะ เพราะไม่มีอะไรถูกต้องร้อยเปอร์เซ็นต์ ในทางการแพทย์ ความรู้ ความเชื่อ ณ วันนี้อาจได้การยอมรับ แต่ความรู้ใหม่ๆ ...
  • วารสารคลินิก 265 มกราคม 2550
    กินยาบำรุงพวก antioxidants ป้องกันมะเร็งลำไส้ใหญ่ได้หรือBjelkovic G. et al. Meta-analysis : antioxidant supplements for primary and secondary prevention of colorectal adenoma. Aliment Pharmacol Ther 2006;24:281-91.การศึกษาพบว่า adenomatours polyp เป็นสาเหตุหนึ่งของมะเร็งลำไส้ใหญ่ ดังนั้นการป้องกันการ เกิด adenomatous polyp น่าจะช่วยป้องกันการเกิดมะเร็งลำไส้ใหญ่ ...
  • วารสารคลินิก 265 มกราคม 2550
    Tennis elbow ฉีดยา corticosteroid ได้ผลหรือไม่Bisset L, et al. Mobilisation with movement and exercise, corticosteroid injection, or wait and see for tennis elbow : randomized trial. BMJ Sept 2006.นักวิจัยออสเตรเลียเปรียบเทียบการรักษา tennis elbow ด้วยกายภาพบำบัด, การเฝ้ารอดู และด้วยการฉีดยา corticosteroid และติดตามเป็นเวลา 52 สัปดาห์.การทดลองนี้ทำในผู้ป่วย 198 คน อายุ 18-65 ปี ...
  • วารสารคลินิก 263 พฤศจิกายน 2549
    อาการอ่อนเปลี้ยเพลียแรงเป็นอาการพบบ่อย ที่สำคัญ และเรียกได้ว่าเป็น "ไม้เบื่อไม้เมา" ในเวชปฏิบัติ เพราะพบได้ทั้งคนทั่วไปและคนที่ป่วยเป็นโรค แพทย์ส่วนใหญ่มักรู้สึกไม่ยินดีที่จะดูแลอาการดังกล่าว โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากไม่พบสาเหตุโรคชัดเจนเมื่อไม่พบโรคทางกาย ก็มักจะเข้าใจว่าเป็นโรคทางใจ และละเลยที่จะสนใจในรายละเอียดความทุกข์ทรมานลักษณะนี้ "ไปนอนซะ ...
  • วารสารคลินิก 263 พฤศจิกายน 2549
     บทนำโรคเบาหวาน (diabetes mellitus) จัดเป็นปัญหาทางคลินิกที่สำคัญในกลุ่มโรคเรื้อรังซึ่งเกิดจากภาวะความไม่สมดุลของฮอร์โมนที่ทำหน้าที่ควบคุมระดับน้ำตาลกลูโคสในร่างกาย ทำให้ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้เต็มที่ น้ำตาลที่มีอยู่จึงเข้าไปสู่กระแสเลือดในระดับสูงกว่าปกติเป็นเวลานาน ...
  • วารสารคลินิก 262 ตุลาคม 2549
    บทนำการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของประชากรในปัจจุบัน เช่น การรับประทานอาหารจานด่วน (fast food) อาหารที่มีไขมันสูงรวมถึงขาดการออกกำลังกาย ทำให้เกิดภาวะน้ำหนักตัวเกินมาตรฐานหรือโรคอ้วน ซึ่งเป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่างๆหลายชนิด เช่น โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดหัวใจ เป็นต้นโดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคเบาหวานนั้นมีอุบัติการณ์ของการเกิดโรคเพิ่มสูงขึ้นทุกปี. จากข้อมูลทางสถิติขององค์การอนามัยโลก ...
  • วารสารคลินิก 262 ตุลาคม 2549
    "ข่าวร้ายและข่าวดีเกี่ยวกับโรคติดเชื้ออุบัติใหม่. ช่วงเดือนที่ผ่านมาทุกท่านคงได้รับทราบข่าวเกี่ยวกับการระบาดระลอกที่ 4 ของโรคไข้หวัดนกในจังหวัดพิจิตรและอุทัยธานีกันแล้ว อย่างไรก็ตามจนถึงปัจจุบันเรายังไม่พบหลักฐานยืนยันชัดเจนว่ามีการติดต่อจากคนสู่คน หมายถึงว่าสถานการณ์การระบาดของโรคไข้หวัดนกในประเทศไทยยังอยู่ในระดับ 3 ตามเกณฑ์ของ WHO (WHO. Influenza Pande mic Preparedness Plan ...
  • วารสารคลินิก 262 ตุลาคม 2549
    "หมอคะ คนไข้กินไม่ได้เลย ผอมลงเรื่อยๆ หมอช่วยใส่ท่ออาหารให้แกด้วยเถอะค่ะ"  นี่คงเป็นคำขอร้องที่แพทย์หลายคนไม่อยากได้ยิน โดยเฉพาะในผู้ป่วยด้วยโรคระยะสุดท้าย แต่เพราะแพทย์ไม่เคยได้เรียนรู้ที่มาที่ไปของการเกิดอาการเหล่านี้ จึงมีหลายคนที่เข้าใจผิดและทำตามที่ญาติขอร้องไปก่อน และไม่สามารถหยุดการให้อาหารทางท่ออาหารหรือทางหลอดเลือดได้ในที่สุด ...
  • วารสารคลินิก 260 สิงหาคม 2549
    การวินิจฉัยโรคสมองเสื่อม : การซักประวัติหลักที่สำคัญในการวินิจฉัยสมองเสื่อม คือการซักประวัติและการตรวจร่างกาย แพทย์ที่ดูแลรักษาผู้ป่วยสมองเสื่อมทุกท่านต้องตระหนักเรื่องกฎเกณฑ์ขั้นพื้นฐานในการวินิจฉัยโรคของผู้ป่วย. จริงๆแล้วกฎนี้ใช้ได้กับโรคทุกโรคไม่ใช่เฉพาะโรคสมองเสื่อมเท่านั้น. ต่อไปนี้เป็นกฎเกณฑ์หลักขั้นพื้นฐานที่ต้องทำความเข้าใจและเรียนรู้ เพื่อให้การวินิจฉัยโรคสมองเสื่อมทำให้ง่าย ถูกต้อง ...