ดูแลสุขภาพ (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)

  • วารสารคลินิก 253 มกราคม 2549
    เภสัชวิทยาของแอลกอฮอล์ (Pharmacology of alcohol)แอลกอฮอล์ถูกดูดซึมได้อย่างดีและรวดเร็วเข้าสู่กระแสเลือดที่กระเพาะอาหาร ลำไส้เล็ก และลำไส้ใหญ่ การดูดซึมจะช้าลงหากมีอาหารในกระเพาะอาหารและลำไส้เล็ก. แอลกอฮอล์จะถูกดูดซึมกระจายไปทั่วร่างกาย และสามารถผ่านรกไปสู่เด็กในครรภ์ได้. ดังนั้นผู้ป่วยติดสุราที่ยังคงดื่มสุราในระหว่างตั้งครรภ์  ทารกที่คลอดออกมาจะมีความผิดปกติได้อย่างมาก.  ...
  • วารสารคลินิก 253 มกราคม 2549
    การดื่มแอลกอฮอล์มีผลกระทบต่อสุขภาพร่างกายของผู้ดื่มทั้งทางตรงและทางอ้อม โดยผลกระทบนั้นสามารถเกิดได้กับอวัยวะต่างๆ  เช่น ทางเดินอาหาร ตับ สมอง หัวใจและหลอดเลือด เป็นต้น.ผลของการดื่มแอลกอฮอล์ต่อระบบหัวใจและหลอดเลือด พบว่าเกิดทั้งโทษและประโยชน์ ซึ่งโดยทั่วไปประโยชน์มักจะพบได้ในผู้ที่ดื่มแอลกอฮอล์ในปริมาณเล็กน้อยถึงปานกลาง.ส่วนผู้ที่ดื่มแอลกอฮอล์ในปริมาณมากมักจะพบโทษได้เป็นส่วนใหญ่. ...
  • วารสารคลินิก 239 พฤศจิกายน 2547
    การกู้ชีพเด็กขั้นสูง ตอนที่ 4 ได้กล่าวถึงขั้นตอนการรักษาภาวะหัวใจเต้นผิดปกติแบบหยุดสนิท (asystole) และแบบเต้นช้า(bradycardias) ไว้แล้ว. ในตอนนี้จะกล่าวถึงแบบมีคลื่นไฟฟ้าหัวใจแต่ไม่มีชีพจร (pulseless electrical activity, PEA). " มีคลื่นไม่มีชีพจร "" มีคลื่นไม่มีชีพจร"  หรือ "คลื่นเต้นไม่มีชีพจร" หมายถึง ภาวะที่มีคลื่นไฟฟ้าหัวใจแต่ไม่มีชีพจร (pulseless ...
  • วารสารคลินิก 239 พฤศจิกายน 2547
    (Abbott RD, et al. Walking and dementia in physically capable elderly men. JAMA 2004;292:1447-53.)การเคลื่อนไหวร่างกายเป็นประจำ (physical activity) ช่วยป้องกันสมองเสื่อม (dementia) ในผู้สูงอายุได้ แต่การเดินเป็นการออกแรงกายแบบไม่หักโหมจะช่วยป้องกันได้หรือไม่. Abbott RD และคณะติดตามชายที่มีอายุ 71-93 ปีจำนวน 2,257 คน ซึ่งอยู่ในการศึกษา Honolulu-Asia Aging Study เริ่มระหว่างปี พ.ศ. 2534-2536. ...
  • วารสารคลินิก 238 ตุลาคม 2547
    การมีนโยบายระดับชาติในการให้ยาต้านไวรัสแก่ผู้ป่วยติดเชื้อโรคเอดส์ในปีพ.ศ. 2546 ได้เปลี่ยนมุมมองในการรักษาผู้ป่วยเอดส์ในประเทศไทยจากเดิมที่เคยเป็นโรคเฉียบพลันรุนแรงรักษาไม่ได้ ให้กลายเป็นโรคเรื้อรังที่สามารถให้การรักษาเพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีได้ ในทำนองเดียวกับการดูแลรักษา ...
  • วารสารคลินิก 238 ตุลาคม 2547
    Human Errorปัจจัยทางด้านพฤติกรรมการบริหารยาของผู้ป่วยสูงอายุเองก็มีส่วนสำคัญอย่างมากในการเกิด ผลข้างเคียงจากการใช้ยาไม่ยิ่งหย่อนไปกว่า 3 ปัจจัยแรกที่กล่าวไปแล้ว ดังต่อไปนี้1. การได้รับยาต่อเนื่องโดยไม่ได้พบแพทย์เนื่องจากข้อจำกัดทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ. ทางด้านร่างกาย ได้แก่ การมีพยาธิสภาพหลายระบบทำให้การเคลื่อนไหวลำบาก เช่น osteoarthritis ของข้อต่างๆ congestive heart failure และ stroke ...
  • วารสารคลินิก 238 ตุลาคม 2547
    บทคัดย่อแผ่นยาติดผิวหนังเพื่อการคุมกำเนิด (transdermal contraceptive patch) มีตัวยาสำคัญ 2 ชนิด คือ norelgestromin และ ethinyl estradiol.แผ่นยานี้เตรียมขึ้นในระบบมาทริกซ์ ซึ่งจะปลดปล่อยตัวยาออกมาและดูดซึมผ่านผิวหนังได้สม่ำเสมอนาน 7-9 วัน. ผลการศึกษาเปรียบเทียบระหว่างแผ่นยาติดผิวหนังกับยาเม็ดคุมกำเนิด พบว่าการใช้แผ่นยาติดผิวหนังติดต่อกัน 3 ...
  • วารสารคลินิก 238 ตุลาคม 2547
    Community-Oriented Primary Care (COPC)1เป็นกระบวนการขยายขอบเขตการดูแลสุขภาพบุคคลและครอบครัว ออกไปสู่ชุมชนที่อยู่ในเขตรับผิดชอบ โดยการนำหลักวิชาระบาดวิทยา วิชาประชากรศาสตร์ และหลักการประเมินผลโครงการมาประยุกต์ใช้ร่วมกับเวชปฏิบัติปฐมภูมิ. แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวซึ่งเป็นแพทย์ปฐมภูมิของชุมชนและเป็นจักรกลสำคัญของระบบบริการสุขภาพ ควรสามารถนำหลักการ COPC ...
  • วารสารคลินิก 238 ตุลาคม 2547
    (Wenzel V, et al. A comparison of vasopressin and epinephrine for out- of-hospital cardiopulmonary resuscitation. N Engl J Med 2004;350:105-13.)Epinephrine เป็นยาที่ใช้ในการกู้ชีพมานานกว่า 100  ปีแล้ว แต่ข้อเสียคือทำให้กล้ามเนื้อหัวใจต้องใช้ออกซิเจนมากขึ้น, ventricle เต้นผิดปกติ, การทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจผิดปกติ. มีการตรวจพบ endogenous vasopressin ภายในร่างกายของคนที่กู้ชีพแล้วรอด ...
  • วารสารคลินิก 238 ตุลาคม 2547
    ผลข้างเคียงข้อแทรกซ้อนที่รุนแรงที่สุดคือ teratogenicity  พบว่าลักษณะผลข้างเคียงของ systemic retinoids (ตารางที่ 2) คล้ายคลึงกับลักษณะพิษของวิตามินเอ หรือกลุ่มอาการ hypervitaminosis A อาจแบ่งผล ข้างเคียง (type I) และลักษณะพิษทาง systemic (type II) ดังตารางที่ 3. พิษเฉียบพลันของ retinoid รวม ถึงรอยโรคทาง mucocutaneous (ในผู้ป่วยส่วนใหญ่) และความผิดปกติทางห้องปฏิบัติการ (พบได้น้อยกว่า ...