โรคตามระบบ (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)

  • วารสารคลินิก 265 มกราคม 2550
    อาการปากแห้งแต่มีสารคัดหลั่งมากขึ้นในระบบทางเดินอาหารและทางเดินหายใจ เป็นกลุ่มอาการตรงกันข้ามที่เกิดร่วมกันได้บ่อยในผู้ป่วยระยะสุดท้าย ซึ่งทำให้ญาติเป็นกังวลได้มาก เพราะผู้ป่วยส่งเสียงดังต่อเนื่อง แม้จะไม่รู้สึกตัวแล้วหรือไม่รู้สึกทุกข์ทรมานก็ตาม ทั้งอาการปากแห้งยังทำให้ญาติเข้าใจผิดว่า ผู้ป่วยกระหายน้ำมาก จึงเป็นภาพที่ให้ความรู้สึกว่า ผู้ป่วยไม่สุขสบาย การช่วยดูแลรักษาภาวะนี้ ...
  • วารสารคลินิก 265 มกราคม 2550
    "ถ้าคุณอยากเข้าใจสิ่งต่างๆ ในวันนี้ คุณต้องค้นหาอดีตของมัน"Pearl Buck กล่าวไว้ว่า "ถ้าคุณอยากเข้าใจสิ่งต่างๆ ในวันนี้ คุณต้องค้นหาอดีตของมัน" ประวัติศาสตร์มีเพียงหนึ่งเดียว แต่บันทึกทางประวัติศาสตร์นั้นมีเยอะ บางอย่างก็ไม่ตรงกัน ความพยายามรวบรวมจากหลายแหล่ง เพื่อหาข้อสรุปช่วยให้เราเข้าใกล้ "หนึ่งเดียว" นั้นมากขึ้นไข้หวัดใหญ่ (Influenza) เป็นโรคที่พบมานานแล้ว ...
  • วารสารคลินิก 265 มกราคม 2550
    การรักษารากฟันQ อยากทราบว่าเมื่อไรที่ฟันผุแล้วต้องรักษารากฟัน และต้องรักษาอย่างไร นานขนาดไหนศุภชัย กิจศิริไพบูลย์   A ฟันผุทั่วไปที่เป็นไม่มาก จะผุอยู่ในชั้นของเคลือบฟัน ...
  • วารสารคลินิก 265 มกราคม 2550
    รอยโรคผื่นแดงจิโรจ สินธวานนท์ พ.บ.ผู้อำนวยการสถาบันโรคผิวหนัง, กรมการแพทย์, ...
  • วารสารคลินิก 265 มกราคม 2550
    Q โรคต้อของตามีกี่โรค และมีความแตกต่างกันอย่างไร?      โรคต้อลม ...
  • วารสารคลินิก 265 มกราคม 2550
    http://lapublichealth.org/ACD/MRSA.htmMRSA ในชุมชนCommunity-Associated Methicillin-Resistant Staphylococcus aureus (CAMRSA) ในยุคของ emerging & re-emerging infectious diseases มักจะมีโรคติดเชื้อใหม่ หรือกลับมาใหม่เป็นระยะ. ...
  • วารสารคลินิก 265 มกราคม 2550
    แนวทางการรักษาผู้ป่วยหอบหืดขณะไม่มีอาการ ถาม แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยหอบหืดที่ถูกต้องโดยการให้ยาขณะไม่มีอาการ ฟังปอดไม่มีเสียงวี๊ดเป็นอย่างไร. ตอบ ในกรณีนี้มีประเด็นสำคัญ 2 ข้อ คือ หืดขณะไม่มีอาการ และไม่ได้ยินเสียงวี๊ด. หืดที่ไม่มีอาการ นั้น หมายถึง ไม่มีอาการไอ หรืออาการหายใจลำบาก รวมทั้งอาการในเวลากลางคืน ซึ่งถือเป็นสิ่งที่ผู้ป่วยบอกกับแพทย์. ส่วนการไม่มีเสียงวี๊ดจากการฟังเสียงปอด ...
  • วารสารคลินิก 263 พฤศจิกายน 2549
    หลังจากที่ได้นำเสนอบทความเกี่ยวกับโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมมาหลายตอน ฉบับนี้ ”อาชีวเวชศาสตร์ปริทัศน์"  ก็จะได้กล่าวถึงโรคกลุ่มสุดท้ายในบรรดา 10 กลุ่มโรค ที่สำนักระบาดวิทยากรมควบคุมโรค ได้กำหนดให้มีการ " รายงาน"  โรคใน กรณีที่แพทย์หรือบุคลากรสาธารณสุขตรวจพบหรือสงสัย นั่นคือ ...
  • วารสารคลินิก 262 ตุลาคม 2549
    เดือนตุลาคมเป็นช่วงเวลาที่โรงเรียนปิดภาคเรียน การใช้ชีวิตของทั้งผู้ปกครองและนักเรียนแตกต่างจากช่วงเวลาเปิดภาคเรียนและเป็นช่วงเวลาที่เด็กนักเรียนมีโอกาสเจ็บป่วยจากการวิ่งเล่นภายในบ้านตนเอง โดยเฉพาะจากสิ่ง " คุกคามสุขภาพ" กลุ่มหนึ่งที่พบบ่อยตามบ้านเรือน คือ พืชและสัตว์ที่เป็นพิษ. การเจ็บป่วยที่มีสาเหตุจากสิ่งมีชีวิตเหล่านี้ได้รับการจัดกลุ่มโดยสำนักระบาดวิทยาให้เป็นโรคจาก " ...
  • วารสารคลินิก 260 สิงหาคม 2549
    การวินิจฉัยโรคสมองเสื่อม : การซักประวัติหลักที่สำคัญในการวินิจฉัยสมองเสื่อม คือการซักประวัติและการตรวจร่างกาย แพทย์ที่ดูแลรักษาผู้ป่วยสมองเสื่อมทุกท่านต้องตระหนักเรื่องกฎเกณฑ์ขั้นพื้นฐานในการวินิจฉัยโรคของผู้ป่วย. จริงๆแล้วกฎนี้ใช้ได้กับโรคทุกโรคไม่ใช่เฉพาะโรคสมองเสื่อมเท่านั้น. ต่อไปนี้เป็นกฎเกณฑ์หลักขั้นพื้นฐานที่ต้องทำความเข้าใจและเรียนรู้ เพื่อให้การวินิจฉัยโรคสมองเสื่อมทำให้ง่าย ถูกต้อง ...