โรคตามระบบ (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)

  • วารสารคลินิก 273 กันยายน 2550
    Q มีอาการเหงือกบวมเป็นหนองบริเวณฟันกรามบนซ้าย มีฟันโยก เคยเป็นๆ หายๆ กินยาแก้อักเสบแล้วอาการก็ดีขึ้น แต่ไม่เคยไปหาหมอ อาการนี้เคยเป็นที่บริเวณอื่นด้วย เช่น ฟันกรามล่างข้างขวา กินยาแก้อักเสบแล้วอาการก็หายไป อยากทราบว่าจะทำการรักษาได้อย่างไร ต้องทำการตรวจฟันหรือไม่ ถ้าไม่ถอนจะได้ไหมวรวิทย์ อึ้งภูริเสถียรA ก่อนอื่นต้องตรวจที่บริเวณฟันที่มีอาการก่อนว่ามีฟันผุหรือไม่ ถ้าเป็นฟันที่ปกติไม่มีรูผุ ...
  • วารสารคลินิก 273 กันยายน 2550
    การรักษารากฟัน Q โครงสร้างของฟันคนเราประกอบด้วยอะไรบ้างA ฟันคนเราประกอบด้วย 3 ชั้น เรียงตามลำดับ ดังนี้1. ชั้นเคลือบฟัน เป็นชั้นที่มีความแข็งแรงที่สุดและนอกสุด การเกิดฟันผุในระดับนี้ ผู้ป่วยจะไม่มีอาการ และอาจสังเกตเห็นเองได้ โดยพบมีจุดหรือร่องสีดำบนผิวฟัน ...
  • วารสารคลินิก 273 กันยายน 2550
    ถาม ขอเรียนถามวิธีการรักษาผู้ป่วยเป็นโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังจากการสูบบุหรี่.สมาชิกตอบ จุดมุ่งหมายที่สำคัญในการรักษาผู้ป่วย COPD ได้แก่ ทำให้อาการเหนื่อยดีขึ้น คงสภาพการทำงานของปอดหรือทำให้เสื่อมลงช้าที่สุด ออกกำลังได้ดีขึ้น เพิ่มคุณภาพชีวิต ป้องกันและรักษาภาวะแทรกซ้อน ป้องกันและรักษาภาวะกำเริบเฉียบพลัน และลดอัตราการเสียชีวิต. การรักษาที่ดีที่สุด ได้ผลดีที่สุด ...
  • วารสารคลินิก 272 สิงหาคม 2550
    โรคที่ระบาดจากสัตว์สู่คนนอกจากไข้หวัดนกแล้วยังมีอีกหลายโรคที่น่าสนใจ วันนี้ผมขอเล่าให้ฟังสัก 2 ...
  • วารสารคลินิก 272 สิงหาคม 2550
    บทนำในปัจจุบันวัณโรคได้กลับมามีปัญหามากขึ้นโดยเฉพาะเมื่อมีการระบาดของการติดเชื้อเอชไอวี ทำให้วัณโรคยังคงเป็นโรคที่สำคัญและองค์การอนามัยโลกจัดให้เป็น "GLOBAL EMERGENCY". สำหรับในประเทศไทยที่เคยคาดการณ์ว่าจะควบคุมวัณโรคให้ได้ผลในปี พ.ศ. 2543 ปรากฏว่าจนถึงปัจจุบัน ยังไม่มีแนวโน้มวัณโรคลดลงอย่างชัดเจน อีกทั้งยังมีผู้ป่วยวัณโรคเสียชีวิตในแต่ละปีประมาณร้อยละ 5-10 ของผู้ป่วยทั้งหมด ...
  • วารสารคลินิก 272 สิงหาคม 2550
    ผู้ป่วยหญิงไทยหม้ายอายุ 35 ปี น้ำหนัก 68 กิโลกรัม ส่วนสูง 163 เซนติเมตร. เมื่อ 9 ปีก่อนได้รับการวินิจฉัยว่าติดเชื้อเอชไอวี ไม่ได้รับการรักษาอย่างจริงจัง จนเมื่อ 2 ปีก่อนได้รับการวินิจฉัยเป็นเอชไอวีร่วมกับวัณโรคปอด ได้รับยาต้านไวรัสร่วมกับยารักษาวัณโรค. ต่อมาตรวจพบว่าเริ่มมี partial resistance ต่อ AZT, ddI, 3TC และ high level resistance ต่อ NVP รวมทั้งพบว่ามีผลข้างเคียงจาก AZT ...
  • วารสารคลินิก 272 สิงหาคม 2550
    "ภาพหนึ่งภาพอาจมีความหมายมากกว่าอักษรนับร้อยนับพันคำ การเรียนรู้จากภาพจริงเกี่ยวกับผู้ป่วย คือที่มาของ "ปริศนาคลินิก" ซึ่งบรรจุเนื้อหาอันเป็นปริศนาที่เลือกสรรอย่างบรรจงจากวิทยากรเพื่อกระตุ้นการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน"จิโรจ สินธวานนท์ พ.บ.ผู้อำนวยการสถาบันโรคผิวหนัง, กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุขรายที่ 1หญิงไทยคู่อายุ 27 ปี ภูมิลำเนาจังหวัดปทุมธานี ...
  • วารสารคลินิก 272 สิงหาคม 2550
    Q เด็กที่มีปัญหาน้ำตาคลอตลอดเวลาแต่กำเนิด จะมีวิธีวินิจฉัยโรคและแนวทางให้การรักษาอย่างไรรัชดาภรณ์ ตันติมาลาA เด็กที่มีน้ำตาคลอข้างเดียวหรือทั้งสองตาอาจเป็นได้จากท่อน้ำตาอุดตันตั้งแต่เกิด ต้อหินตั้งแต่เกิด กระจกตาดำหรือเยื่อบุตาขาวมีสิ่งแปลกปลอมติดอยู่ หรือมีการระคายเคืองจากสารเคมี. เด็กปกติมักจะเริ่มมีการสร้างน้ำตาเมื่ออายุประมาณ 3 สัปดาห์ไปแล้ว ดังนั้นแม้เด็กจะมีท่อน้ำตาอุดตัน ...
  • วารสารคลินิก 271 กรกฎาคม 2550
    นิยามMild Cognitive Impairment (MCI) เป็นกลุ่มอาการที่ประชานหรือ cognition1 เริ่มเสื่อม เกินกว่าที่ควรจะเป็นสำหรับคนที่อายุและระดับการศึกษานั้นๆ แต่อาการมักจะไม่เป็นอุปสรรคต่อกิจกรรมในชีวิตประจำวันนัก2 คำว่า "ประชาน" มีรากศัพท์มาจากคำว่า "ชา" ซึ่งมีความหมายว่า รู้ หรือเก่ง ส่วน "ประ"- เป็นคำที่ใช้เติมหน้าเพื่อเน้นความหมายและ-น ...
  • วารสารคลินิก 271 กรกฎาคม 2550
    เรื่องที่จะเล่าให้ฟังในวันนี้เป็นโรคที่สำคัญมากเพราะพึ่งพบมา 20 กว่าปีแต่ทั่วโลกต่างหวาดกลัวมัน เนื่องจากปัจจุบันยังไม่มีวิธีรักษาให้หายขาดได้. เริ่มคุ้นๆ แล้วใช่ไหมครับ ถ้าใครยังนึกไม่ออก เดี๋ยวผมจะเล่าให้ฟัง.ก่อนอื่นคงต้องพูดถึงปี ค.ศ. 1909 Carlos Ribeiro Justiniano Chagas (1879-1934) แพทย์ชาวบราซิล ค้นพบเชื้อที่ตอนนั้นคิดว่าเป็นโปรโตซัวชื่อ Pneumocystis carinii ซึ่งก่อโรคปอดบวม (pneumonia) ...