โรคตามระบบ (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)
-
วารสารคลินิก
271
กรกฎาคม 2550
นิยามMild Cognitive Impairment (MCI) เป็นกลุ่มอาการที่ประชานหรือ cognition1 เริ่มเสื่อม เกินกว่าที่ควรจะเป็นสำหรับคนที่อายุและระดับการศึกษานั้นๆ แต่อาการมักจะไม่เป็นอุปสรรคต่อกิจกรรมในชีวิตประจำวันนัก2 คำว่า "ประชาน" มีรากศัพท์มาจากคำว่า "ชา" ซึ่งมีความหมายว่า รู้ หรือเก่ง ส่วน "ประ"- เป็นคำที่ใช้เติมหน้าเพื่อเน้นความหมายและ-น ...
-
วารสารคลินิก
271
กรกฎาคม 2550
เรื่องที่จะเล่าให้ฟังในวันนี้เป็นโรคที่สำคัญมากเพราะพึ่งพบมา 20 กว่าปีแต่ทั่วโลกต่างหวาดกลัวมัน เนื่องจากปัจจุบันยังไม่มีวิธีรักษาให้หายขาดได้. เริ่มคุ้นๆ แล้วใช่ไหมครับ ถ้าใครยังนึกไม่ออก เดี๋ยวผมจะเล่าให้ฟัง.ก่อนอื่นคงต้องพูดถึงปี ค.ศ. 1909 Carlos Ribeiro Justiniano Chagas (1879-1934) แพทย์ชาวบราซิล ค้นพบเชื้อที่ตอนนั้นคิดว่าเป็นโปรโตซัวชื่อ Pneumocystis carinii ซึ่งก่อโรคปอดบวม (pneumonia) ...
-
วารสารคลินิก
271
กรกฎาคม 2550
Disclaimer : รายงานการศึกษาวิจัยทางการแพทย์มีมากมายมหาศาล ในขณะนี้เป็นสิ่งที่ต้องติดตามเป็นอย่างยิ่ง คอลัมน์นี้ได้สรุปรายงานการศึกษาที่น่าสนใจที่ลงในวารสารทางการแพทย์ที่ผ่าน peer review มาให้สมาชิกทราบ แต่ข้อพึงระวังคือ ไม่ใช่ว่าทุกอย่างที่มีการรายงานการศึกษาจะมีความถูกต้องเป็นสัจจะ เพราะไม่มีอะไรถูกต้องร้อยเปอร์เซ็นต์ ในทางการแพทย์ ความรู้ ความเชื่อ ณ วันนี้อาจได้การยอมรับ แต่ความรู้ใหม่ๆ ...
-
วารสารคลินิก
271
กรกฎาคม 2550
"ภาพหนึ่งภาพอาจมีความหมายมากกว่าอักษรนับร้อยนับพันคำ การเรียนรู้จากภาพจริงเกี่ยวกับผู้ป่วย คือที่มาของ "ปริศนาคลินิก" ซึ่งบรรจุเนื้อหาอันเป็นปริศนาที่เลือกสรรอย่างบรรจงจากวิทยากรเพื่อกระตุ้นการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน"จิโรจ สินธวานนท์ พ.บ.ผู้อำนวยการสถาบันโรคผิวหนัง, กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุขรายที่ 1ชายไทยโสดอายุ 23 ปี ภูมิลำเนาอยู่จังหวัดอยุธยา อาชีพทำสวนส้มโอ ...
-
วารสารคลินิก
271
กรกฎาคม 2550
ชายไทยอายุ 60 ปี มาห้องฉุกเฉิน เนื่องจากหายใจหอบเหนื่อย อ่อนเพลีย กินได้น้อย หลังจากกลับมาจากเที่ยวประเทศทิเบต เมื่อ 4 วันก่อน. โดยวันแรกไปเที่ยวที่ระดับความสูงประมาณ 1,000 ฟุต จากระดับน้ำทะเล อาการทั่วไปปกติดี. วันที่ 2 ไปเที่ยวที่ระดับความสูงประมาณ 3,000 ฟุต เริ่มมีอาการคลื่นไส้อาเจียน เวียนศีรษะเล็กน้อย ไม่มีบ้านหมุน เพลียและเหนื่อยมากขึ้น ไม่เจ็บหน้าอก ถ่ายเหลว 1 ครั้งไม่มีมูกเลือดปน ...
-
วารสารคลินิก
271
กรกฎาคม 2550
เมื่อต้นเดือนมิถุนายนปีนี้ ได้มีรายงานข่าวสำคัญไปทั่วโลกกรณีที่ศูนย์ควบคุมโรคติดต่อของสหรัฐอเมริกาได้ออกประกาศเรื่องอาจมีการติดเชื้อวัณโรคชนิดดื้อยารุนแรง (extensively drug-resistant tuberculosis หรือ XDR-TB) ...
-
วารสารคลินิก
270
มิถุนายน 2550
บทความนี้จะกล่าวถึงอาการเคลื่อนไหวผิดปกติที่พบได้บ่อยในผู้สูงอายุ หรือผู้สูงอายุเป็น กลุ่มเสี่ยงที่อาจเกิดอาการเหล่านี้ อันได้แก่ Tremor, Essential tremor, restless legs syndrome และ periodic limb movement disorders. ยกเว้น Parkinsons disease และ related-disorders จะไม่กล่าวในบทความนี้. ส่วนในบทความตอนที่ 2 จะกล่าวถึง tardive dyskinesia และ neuroleptic malignant syndrome.TremorTremor ...
-
วารสารคลินิก
270
มิถุนายน 2550
พาร์กินโซนิซึมการรักษาโรคพาร์กินสันก่อนที่จะได้กล่าวถึงวิธีการรักษาโรคพาร์กินสันทั้งด้วยยาและวิธีรักษาแบบผ่าตัด อยากจะกล่าวถึงความหมายของลักษณะอาการตอบสนองต่อยา ที่จะกล่าวถึงบ่อยในบทของการรักษาโรคพาร์กินสัน.On time หมายถึง ช่วงที่มีอาการตอบสนองที่ดีต่อยา ในช่วง on time ผู้ป่วยโรคพาร์กินสันจะมีอาการสั่นน้อยลง แข็งน้อยลง และเคลื่อนไหวได้ดีขึ้น.Off time หมายถึง ช่วงที่ไม่ตอบสนองต่อยา ...
-
วารสารคลินิก
270
มิถุนายน 2550
โอกาสที่จะติดเชื้อไวรัสบี (HBV) ขึ้นกับ degree ของการสัมผัสกับเลือด และ HBeAg status ของผู้ป่วยที่เป็นเจ้าของเลือด โอกาสการเกิด serologic evidence ของการติดเชื้อ HBV จะประมาณร้อยละ 37-62 และโอกาสเกิด clinical hepatitis ประมาณร้อยละ 22-31 หลังถูกเข็มแทง ในกรณีที่เลือดนั้นมาจากผู้ป่วยที่มี HBeAg เป็นบวก ในขณะที่โอกาสเกิด serologic evidence ของการติดเชื้อ HBV จะประมาณร้อยละ 23-37 และโอกาสเกิด ...
-
วารสารคลินิก
270
มิถุนายน 2550
สารพันปัญหา เรื่องแว่นตา (ตอนที่ 1)Q การวัดสายตา จำเป็นต้องวัดกับจักษุแพทย์หรือเปล่าA การวัดสายตาประกอบแว่น เป็นวิธีการแก้ปัญหาสายตาสั้น ยาวหรือเอียงที่ยังได้รับความนิยมมาก แม้จะมีวิธีการอื่นเช่น คอนแทคเลนส์หรือการใช้เลเซอร์ผ่าตัดแก้สายตา. การวัดระดับสายตาผิดปกติในปัจจุบันนิยมใช้เครื่องวัดสายตาอัตโนมัติ ซึ่งสามารถพบเห็นได้ทั้งในโรงพยาบาลและร้านแว่นตาทั่วไป แต่ในสภาวะความเป็นจริง ...