โรคตามระบบ (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)

  • วารสารคลินิก 277 มกราคม 2551
    www.doctorfungus.org/thefungi/Pseudallescheria.htmเชื้อรา Pseudallescheria boydiiเมื่อต้นเดือนธันวาคม มีข่าวของนักร้องชื่อดังที่เคยประสบอุบัติเหตุทางรถยนต์และได้รับเชื้อราชนิดหนึ่งทำให้เนื้อสมองส่วนหนึ่งถูกทำลายและไม่รู้สึกตัวอยู่นาน 4 ปี และในที่สุดได้ถึงแก่กรรม. วารสารฉบับนี้จึงขอแนะนำ website ...
  • วารสารคลินิก 277 มกราคม 2551
    "โครงการนี้จึงไม่ใช่การสังคมสงเคราะห์ธรรมดาๆ ...
  • วารสารคลินิก 277 มกราคม 2551
    "ภาพหนึ่งภาพอาจมีความหมายมากกว่าอักษรนับร้อยนับพันคำ การเรียนรู้จากภาพจริงเกี่ยวกับผู้ป่วย คือที่มาของ "ปริศนาคลินิก" ซึ่งบรรจุเนื้อหาอันเป็นปริศนาที่เลือกสรรอย่างบรรจงจากวิทยากรเพื่อกระตุ้นการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน"จิโรจ สินธวานนท์ พ.บ.ผู้อำนวยการสถาบันโรคผิวหนัง, กรมการแพทย์ ...
  • วารสารคลินิก 277 มกราคม 2551
    บทความนี้เป็นประสบการณ์การสอบสวนการระบาดของโรคไอกรนของผู้เขียนเมื่อครั้งเป็นแพทย์ประจำบ้าน ในโครงการฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน สาขาเวชศาสตร์ป้องกัน แขนงระบาดวิทยา ที่กองระบาดวิทยา (ชื่อเดิมของสำนักระบาดวิทยา) กระทรวงสาธารณสุข. ประเด็นทางด้านการแพทย์และระบาดวิทยา เช่นการที่โรคที่พบน้อยลงจากผลของการรณรงค์ให้วัคซีนกลับมาเป็นปัญหาใหม่ (reemerging disease) ...
  • วารสารคลินิก 277 มกราคม 2551
    วิทยาการสมัยใหม่มีเพิ่มขึ้นทุกวันในการดูแลรักษาผู้ป่วย บางครั้งแพทย์โดยเฉพาะแพทย์จบใหม่อาจมีปัญหาในการตอบคำถาม หรือสื่อสารกับผู้ป่วย ซึ่งบางครั้งอาจดูเหมือนเป็นคำถามง่ายๆ สั้นๆ แต่จะตอบให้เข้าใจตรงกันได้ยาก ถ้ามีแนวทางในการตอบคำถามและสื่อสารกับผู้ป่วยให้เข้าใจโรคของตนเอง ก็จะทำให้การดูแลรักษาผู้ป่วยเป็นไปอย่างสมบูรณ์และดียิ่งขึ้นสิ่งที่ควรรู้เกี่ยวกับ FloaterQ Floater สำคัญอย่างไรA Floater ...
  • วารสารคลินิก 277 มกราคม 2551
    "ถ้าคุณอยากเข้าใจสิ่งต่างๆในวันนี้ คุณต้องค้นหาอดีตของมัน"ŽPearl Buck กล่าวไว้ว่า "ถ้าคุณอยากเข้าใจสิ่งต่างๆ ในวันนี้ คุณต้องค้นหาอดีตของมัน" ประวัติศาสตร์มีเพียงหนึ่งเดียว แต่บันทึกทางประวัติศาสตร์นั้นมีเยอะ บางอย่างก็ไม่ตรงกัน ความพยายามรวบ รวมจากหลายแหล่ง เพื่อหาข้อสรุปช่วยให้เราเข้าใกล้ "หนึ่งเดียว" นั้นมากขึ้นDirect thrombin inhibitor ...
  • วารสารคลินิก 277 มกราคม 2551
    โรคต้อหินQ อยากทราบว่าโรคต้อหินเกิดจากสาเหตุใด และมีวิธีการป้องกันหรือรักษาอย่างไรรัชดาภรณ์ ตันติมาลาA สาเหตุของโรคต้อหินส่วนใหญ่เกิดขึ้นเอง หรืออาจเกิดจากสาเหตุอื่นๆ เช่น- หยอดยาประเภทสตีรอยด์เป็นประจำ. - มีการอักเสบเรื้อรังของลูกตา.- สาเหตุอื่นๆ เช่นอุบัติเหตุที่ตา, ภาวะแทรกซ้อนจากเบาหวาน. การรักษาต้อหินจะไม่สามารถทำให้เซลล์ประสาทตาที่เสียไปแล้วคืนกลับมาได้ ...
  • วารสารคลินิก 276 ธันวาคม 2550
    ระบบห้ามเลือด (hemostatic system) ในร่างกายจะเริ่มทำงาน เมื่อเกิดมีบาดแผล หรืออันตรายต่อหลอดเลือด โดยเริ่มต้นจากผนังของหลอดเลือดมีการหดตัวเพียงชั่วคราว เพื่อป้องกันการรั่วของเลือดออกนอกหลอดเลือด กลุ่มเกล็ดเลือดปะดังกันเข้ามาในบริเวณนี้เมื่อรวมกับปัจจัยแข็งตัวของเลือดเกิดเป็น platelet-fibrin mesh work และขณะเดียวกันก็มีกระบวนการสลายลิ่มเลือด (fibrinolytic system) ...
  • วารสารคลินิก 276 ธันวาคม 2550
    บทนำโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล (Nosocomial infection, NI) นับเป็นปัญหาสำคัญอันหนึ่งในระบบสาธารณสุขของทุกประเทศทั้งในประเทศที่พัฒนาแล้วและในประเทศที่กำลังพัฒนา ทั้งนี้ปัญหาการติดเชื้อที่เกิดขึ้นในโรงพยาบาลยังเป็นปัญหาที่ประสบกับทุกโรงพยาบาลในทุกขนาดตั้งแต่โรงพยาบาลระดับมหาวิทยาลัยตลอดไปจนถึงโรงพยาบาลชุมชน. ในแต่ละปี ผู้ป่วยจำนวนมากที่เกิดการติดเชื้อขึ้นระหว่างเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาล ...
  • วารสารคลินิก 276 ธันวาคม 2550
    ผู้ป่วยเอดส์ในประเทศไทยได้รับการจัดบริการยาต้านไวรัสเอชไอวีจากกระทรวงสาธารณสุขมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2535 โดยมีผู้ป่วยที่ได้รับยาต้านไวรัสเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ และตั้งแต่ปีงบประมาณ 2543 กระทรวงสาธารณสุขได้เริ่มให้บริการยาต้านไวรัสแก่ผู้ป่วยเอดส์ โดยใช้ยาต้านไวรัสในสูตรยา 3 ชนิดพร้อมกัน กระทั่งปี พ.ศ. 2545 ได้มีการผลิตยาต้านไวรัสโดยองค์การเภสัชกรรมเป็นผลทำให้ราคายาถูกลง และในปีงบประมาณ 2547 ...