โรคผิวหนัง (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)
-
วารสารคลินิก
283
กรกฎาคม 2551
โรคฝ้าในเวชปฏิบัติ (Melasma in Clinical Practice)ตอนที่ 2 : ยาทารักษาฝ้าการรักษาฝ้าส่วนใหญ่ใช้ยาทาให้สีจางลง ซึ่งมีทั้งยาที่ผ่านการศึกษาและนำมาใช้กันแพร่หลาย และยาทากลุ่มใหม่ที่กำลังวิจัยและทดลองใช้ จนถึงเทคนิคเสริมในการรักษาฝ้า เช่น การใช้เลเซอร์. ในการใช้ยาทารักษาฝ้า ควรมีความเข้าใจพื้นฐานของกระบวนการสร้างเม็ดสี เพื่อให้เข้าใจกลไกการออกฤทธิ์ของยารักษาโรคฝ้าขนานต่างๆ ...
-
วารสารคลินิก
283
กรกฎาคม 2551
"ภาพหนึ่งภาพอาจมีความหมายมากกว่าอักษรนับร้อยนับพันคำ การเรียนรู้จากภาพจริงเกี่ยวกับผู้ป่วย คือที่มาของ "ปริศนาคลินิก" ซึ่งบรรจุเนื้อหาอันเป็นปริศนาที่เลือกสรรอย่างบรรจงจากวิทยากรเพื่อกระตุ้นการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน"จิโรจ สินธวานนท์ พ.บ.ผู้อำนวยการสถาบันโรคผิวหนัง, กรมการแพทย์ ...
-
วารสารคลินิก
283
กรกฎาคม 2551
ถาม วัณโรคในไตในผู้ใหญ่ มีโอกาสติดมาถึงเด็กอายุ 4-7 ปี ได้หรือไม่ และจะมีวิธีแก้ไขอย่างไร.สมาชิกเก่าตอบ เชื้อวัณโรคสามารถเข้าสู่ร่างกายได้ 3 ทาง ที่สำคัญที่สุดคือ ทางระบบทางเดินหายใจ โดยเชื้อ แพร่กระจายในลักษณะฝอยละอองไม่เกิน 5 ไมครอน เชื้อจะมาจากผู้ป่วยวัณโรคปอดหรือวัณโรคในระบบทางเดินหายใจที่ยังไม่ได้รับการรักษา. วิธีที่ 2 คือ การสัมผัสโดยตรง พบน้อย ...
-
วารสารคลินิก
282
มิถุนายน 2551
พยาธิกำเนิด, ลักษณะทางคลินิกและการวินิจฉัยแยกโรคฝ้า มีลักษณะเป็นรอยผิวหนังสีน้ำตาล หรือสีดำ บริเวณที่ผิวหนังถูกแสงแดด เช่น ที่ใบหน้า จัดเป็นโรคผิวหนังอย่างหนึ่งที่อยู่ในกลุ่มความผิดปกติของเซลล์สร้างเม็ดสี คำว่า "melasma" (ฝ้า) นั้น มาจากภาษากรีก คือ "melas" แปลว่า "ดำ" พบฝ้าได้บ่อยในสตรีตั้งครรภ์ เรียกชื่ออีกอย่างว่า "chloasma" (เรียกเป็นภาษาชาวบ้านว่า ...
-
วารสารคลินิก
281
พฤษภาคม 2551
ความเชื่อที่ผิดและคำถามที่พบบ่อยเกี่ยวกับโรคสิว (Acne Myths and FAQs) เนื่องจากโรคสิวเป็นโรคที่พบบ่อยและบางครั้งก่อความกังวลให้แก่ผู้ป่วย อีกทั้งผู้ป่วยอาจมีความเชื่อที่ผิดเกี่ยวกับโรคสิว แพทย์จึงควรให้สุขศึกษาที่ถูกต้องกับผู้ป่วย ขอยกตัวอย่างความเชื่อที่ผิดและคำถามที่พบบ่อยเกี่ยวกับโรคสิว ดังนี้ความเชื่อที่ผิดเกี่ยวกับโรคสิว ฝุ่นละอองและสิ่งสกปรกเป็นสาเหตุของสิว จึงควรล้างหน้าฟอกสบู่บ่อยๆ ...
-
วารสารคลินิก
280
เมษายน 2551
สิวในเวชปฏิบัติ (Acne in Clinical Practice) ตอนที่ 4 โรคสิววิสามัญ (Uncommon acne)เรื่องของโรคสิวที่กล่าวไปในตอนที่ 1-3 เป็นโรคสิวที่พบบ่อย เรียกว่า โรคสิวสามัญ (acne vulgaris) แต่ยังมีโรคสิวบางชนิดเกิดจากสาเหตุเฉพาะ จึงมีลักษณะที่แตกต่างไปจากโรคสิวที่พบประจำ เรียกว่า โรคสิววิสามัญ (uncommon acne) เช่น สิวแกะเกา, สิวเสียดสี, สิวจากเครื่องสำอาง, สิวจากยา, สิวในทารกและในเด็ก, สิวจากเชื้อเกลื้อน, ...
-
วารสารคลินิก
279
มีนาคม 2551
วิธีทางกายภาพที่ใช้รักษาโรคสิว (Physical Procedures for Treating Acne) นอกจากการใช้ยาทาและยาชนิดกินรักษาโรคสิวที่ได้กล่าวไปแล้ว ยังมีวิธีทางกายภาพที่ใช้รักษาโรคสิวและรอยแผลเป็นจากสิว ดังนี้1. การลอกผิวหนังด้วยสารเคมี (chemical peels)เป็นเทคนิคที่นำมารักษาโรคสิวและรอยแผลเป็นสิวที่ใช้กันมาก สารเคมีที่ใช้ในการลอกผิวหนัง ได้แก่ กรดแอลฟาไฮดรอกซี (alpha hydroxy acid, AHA) ...
-
วารสารคลินิก
278
กุมภาพันธ์ 2551
แพทย์ใช้ยาปฏิชีวนะชนิดกินรักษาโรคสิวอักเสบปานกลางจนถึงรุนแรงเพื่อฆ่าเชื้อแบคทีเรียที่ก่อให้เกิดสิว (P. acnes) แต่ก็พบปัญหาเชื้อดื้อยาได้บ่อย เช่น เชื้อดื้อต่อยา erythromycin การใช้ยาปฏิชีวนะชนิดกินร่วมกับยาทา benzoyl peroxide อาจช่วยลดปัญหาเชื้อดื้อยาได้. อย่างไรก็ตาม เนื่องจากการกินยาต่อเนื่องกันเป็นเวลานาน อาจมีผลเสียต่อร่างกายได้ จึงควรเลือกใช้ยาชนิดกินเฉพาะในรายที่มีข้อบ่งชี้. ...
-
วารสารคลินิก
277
มกราคม 2551
ตอนที่ 1 : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโรคสิวและยาทารักษาโรคสิว ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโรคสิว สิวจัดเป็นโรคของต่อมไขมัน (sebaceous gland) ของผิวหนังที่พบบ่อยที่สุดในเวชปฏิบัติ สถิติของสถาบันโรคผิวหนังแสดงว่า สิวเป็นสาเหตุที่ทำให้ผู้ป่วยมาพบแพทย์เป็นอันดับ 2 ของผู้ป่วยทั้งหมด เป็นชายร้อยละ 33, หญิงร้อยละ 67 สิวมักปรากฏอาการในหญิงอายุช่วง 14-17 ปี, และในชายช่วงอายุ 16-19 ปี ...
-
วารสารคลินิก
276
ธันวาคม 2550
"ภาพหนึ่งภาพอาจมีความหมายมากกว่าอักษรนับร้อยนับพันคำ การเรียนรู้จากภาพจริงเกี่ยวกับผู้ป่วย คือที่มาของ "ปริศนาคลินิก" ซึ่งบรรจุเนื้อหาอันเป็นปริศนาที่เลือกสรรอย่างบรรจงจากวิทยากรเพื่อกระตุ้นการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน"จิโรจ สินธวานนท์ พ.บ.ผู้อำนวยการสถาบันโรคผิวหนัง, กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุขรายที่ 1หญิงไทยโสด อายุ 27 ปี ภูมิลำเนาจังหวัดสระบุรี ...