อื่น ๆ (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)

  • วารสารคลินิก 262 ตุลาคม 2549
    ความคิดที่จะกำจัดโรคหนึ่งๆ ให้หมดไปจากโลกมีมาเกือบร้อยปีแล้ว ตั้งแต่ ค.ศ. 1909 มูลนิธิร็อคกี้เฟลเลอร์ริเริ่มโครงการกวาดล้างโรคพยาธิปากขอ และค.ศ. 918 ก็เริ่มดำเนินการกวาดล้างโรคไข้เหลือง แต่หลังจากที่พยายามอยู่หลายปีโครงการดังกล่าวก็ไม่ประสบความสำเร็จ.ในเวลาต่อมามีรายงานว่ายุงก้นปล่องที่เป็นพาหะของเชื้อมาลาเรียมีแนวโน้มดื้อต่อยาดีดีทีมากขึ้น. องค์การอนามัยโลกจึงชักชวนให้สมาชิกทำการกวาดล้าง ...
  • วารสารคลินิก 262 กันยายน 2549
    ศัลยแพทย์กับ Emotional Intelligence (EQ)EQ หมายถึง emotional intelligence และได้รับการย่อเป็น EQ เพื่อให้คล้องจองกับ IQ (Intelligence Quotient) ซึ่งหมายถึง intelligence ที่เราวัดได้ คำว่า EQ นี้ได้ใช้กันเป็นที่แพร่หลายและทั่วไป อารมณ์เป็นส่วนของร่างกายในส่วนที่เรารู้จักกันทั่วๆไปว่า " heart " และเป็นองค์ประกอบของชีวิตที่สำคัญมากอย่างหนึ่งที่ศัลย์แพทย์จะต้องคอยทนุบำรุงให้ emotion ...
  • วารสารคลินิก 260 สิงหาคม 2549
    กรณีศึกษาหญิงอายุ 24 ปี ตั้งครรภ์แรก อายุครรภ์ 35 สัปดาห์ (คำนวณด้วย LMP และอัลตราซาวนด์) มาตรวจช่วงหัวค่ำที่โรงพยาบาลชุมชนเพราะเจ็บครรภ์ก่อนกำหนด. แพทย์เวรประเมินแล้วพบว่ามดลูกบีบตัวถี่อาจจะคลอดก่อนกำหนดได้ จึงให้ terbutaline (Bricanyl ® ) หยอดเข้าเส้น เพื่อระงับการเจ็บครรภ์คลอด (ผลอัลตราซาวนด์ในช่วงฝากครรภ์เคยพบว่ามีภาวะรกเกาะต่ำแบบ placenta previa partialis). หลังจากให้ยาได้ประมาณ 2 ...
  • วารสารคลินิก 259 กรกฎาคม 2549
    Michael E. Porter และ Elizabeth Olmsted Teisberg ร่วมกันแต่งหนังสือ ชื่อ Redefining  Health Care : Creating Value-Based Competition on Results. ในหนังสือนี้ Porter และ Teisberg วินิจฉัยว่า ระบบบริการสุขภาพของประเทศสหรัฐอเมริกาทั้งแพง และด้อยคุณภาพ เพราะเป็นระบบส่งเสริมคนที่เก่งในการผลักภาระค่าใช้จ่ายให้คนอื่น และลดทอนปริมาณการบริการ. ทั้ง 2 จึงเสนอว่า ...
  • วารสารคลินิก 258 มิถุนายน 2549
    การทราบว่าตนเองกำลังจะเสียชีวิตเป็นสถานการณ์ที่ปรับตัวได้ยากที่สุดของมนุษย์  ในช่วงเวลาดังกล่าวผู้ป่วยมักจะมีความวิตกกังวล ซึมเศร้า และอาจใช้กลไกการเผชิญปัญหา (coping mechanism) ที่ไม่เหมาะสม ประมาณครึ่งหนึ่งของผู้ป่วยระยะสุดท้ายในโรงพยาบาลมีปัญหาทางจิตใจก่อนเสียชีวิต. ความเจ็บป่วยและความสามารถเผชิญหน้ากับความตายได้อย่างดีนั้นขึ้นอยู่กับประสบการณ์ที่ผ่านมาของแต่ละบุคคล ...
  • วารสารคลินิก 258 มิถุนายน 2549
    ผมพูดเสมอว่าคนไทยขายของไม่เป็น (แต่ชอบซื้อของ shopping เป็นบ้า! ซื้อได้ทุกแห่ง ไม่ว่าจะไปประเทศไหน! ผมว่าเข้าคุกก็ยังซื้อได้!) ที่พูดว่าขายของไม่เป็น คือพูดไม่เป็น เสนอข้อมูลไม่เป็น ไม่รู้ว่าอะไรสำคัญ อะไรไม่สำคัญ ไม่รู้จุดแข็งของตนเอง ไม่รู้จักวิธีทำจุดอ่อนของตนเองให้เป็นจุดแข็ง!.ที่พูดว่าขายของไม่เป็นก็คงรวมหมดตั้งแต่ผู้แทนบริษัทยาที่พูดไม่ค่อยเป็น มาถึงก็ยกมือไหว้และมอบเอกสาร หรือยา 2-3 ...
  • วารสารคลินิก 258 มิถุนายน 2549
    รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน ที่เรียกกันว่ารัฐธรรมนูญฉบับสีเขียวที่อ้างกันว่าเป็นฉบับที่ประชาชนมีส่วนร่วมมากที่สุดจะมีประโยชน์ต่อประเทศชาติและประชาชนมากที่สุด. แต่พอออกมาใช้จริงหลายคนก็เริ่มวิตกว่าจะเป็นอย่างที่หวังไว้จริงหรือเปล่าเพราะหลายสิ่งที่เป็นผลผลิตของรัฐธรรมนูญฉบับนี้ออกมาแปลกๆ สิ่งหนึ่งที่มีปรากฏในรัฐธรรมนูญฉบับนี้ โดยเฉพาะในมาตรา 52 และ 82 ที่เกี่ยวข้องกับระบบบริการสุขภาพ ...
  • วารสารคลินิก 257 พฤษภาคม 2549
    การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี (hepatitis B virus, HBV) เรื้อรัง เป็นปัญหาสำคัญและพบได้ทั่วโลก โดยเฉพาะในประเทศแถบเอเชียแปซิฟิกและพบบ่อยในประเทศไทยส่วนใหญ่เป็นการติดเชื้อตั้งแต่แรกเกิดโดยได้รับเชื้อจากมารดา แต่ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี (human immunodeficiency virus, HIV) มักจะเป็นการติดเชื้อที่ได้มาภายหลัง เนื่องจากเชื้อไวรัสตับอักเสบบีและเอชไอวีสามารถติดต่อทางเดียว กันได้ เช่น การใช้เข็มฉีดยาร่วมกัน ...
  • วารสารคลินิก 257 พฤษภาคม 2549
    " A physician is obligated to  consider more than a diseased organ, more even the whole man-he must view the man in his ...
  • วารสารคลินิก 257 พฤษภาคม 2549
    www.bt.cdc.gov/agent/botulism/วันที่ 15 มีนาคม 2549 ได้เกิดการระบาดของโรค botulism จากการกินหน่อไม้ปี๊บที่จังหวัดน่านมีผู้ป่วยกว่า 200 ราย กว่าครึ่งหนึ่งต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล และต้องใช้เครื่องช่วยหายใจหลายรายจนต้องส่งต่อมาที่โรงพยาบาลในกรุงเทพมหานครส่วนหนึ่ง. วารสารฉบับนี้จึงขอนำเสนอเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง 2 แห่ง ได้แก่ webpage ...