อื่น ๆ (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)

  • วารสารคลินิก 266 กุมภาพันธ์ 2550
    "ตาเหยี่ยว, หัวใจสิงห์, มือผู้หญิง" อ่านแล้วอย่าพึ่งงงนะครับว่าสามอย่างนี้เกี่ยวอะไรกับแพทย์ ค่อยๆ พิจารณาดูก็จะรู้ว่ามันคือคุณสมบัติสำคัญของคนที่จะเป็นหมอนั่นเอง. ข้อที่หนึ่ง แพทย์จะต้องเป็นผู้ที่มีสายตาอันเฉียบคมราวกับตาของเหยี่ยว กล่าวคือต้องเป็นคนช่างสังเกต ไม่ได้พูดเล่นนะครับ บางครั้งแค่เห็นผู้ป่วยเดินเข้ามาตรวจก็พอจะวินิจฉัยโรคได้แล้ว. ...
  • วารสารคลินิก 266 กุมภาพันธ์ 2550
    ในฐานะที่ผมเป็นอาจารย์แพทย์ที่จุฬาฯ ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2514 ที่ออกไปสอนในต่างจังหวัดทุกปีๆ ละ 10-30 ครั้งมาจนถึงทุกวันนี้ รวมทั้งเป็นอนุกรรมการตรวจเยี่ยมแพทย์เพิ่มพูนทักษะของจุฬาฯ ซึ่งทำหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมายจากแพทยสภามาหลายปี ให้ดูแลแพทย์และโรงพยาบาลในภาคตะวันออกและอีสานใต้ เป็นเลขาธิการแพทยสภา 4 ปี เป็นกรรมการ การแพทย์ของสำนักงานประกันสังคม 2 วาระติดกัน (4 ปี) เว้น 2 ปี ...
  • วารสารคลินิก 266 กุมภาพันธ์ 2550
    ตลอดปี 2549 อันเป็นปีที่ 6 ของการดำเนินงานโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า มีความก้าวหน้าที่ น่าจับตาในหลายด้านคนไทยเกือบ 98 % มี "หลักประกันสุขภาพ"ณ เดือนกันยายน 2549 คนไทยร้อยละ 97.82 หรือ 61.04 ล้านคน (จากประชากรทั่วประเทศ 62.39 ล้านคน) มีหลักประกันสุขภาพ มีอัตราความครอบคลุมเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.96 โดย 47.54 ล้านคนลงทะเบียนสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า เพิ่มขึ้นจากปี 2548 ร้อยละ 0.42 ...
  • วารสารคลินิก 266 กุมภาพันธ์ 2550
    "ชีวิตของผมรับราชการมาตลอด นับตั้งแต่เรียนจบจากคณะแพทย์ จุฬาฯ" คำพูดเปิดฉากเผยชีวิตการทำงานของรองศาสตราจารย์ นายแพทย์กำจร ตติยกวี อาจารย์ประจำภาควิชาจุลชีววิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่ปัจจุบันนอกจากสวมหมวกในฐานะครูของนักศึกษาแพทย์ แล้วยังสละเวลามาทำงานเพื่อสังคมในฐานะคณะกรรมการบริหารแผน คณะที่ 6 ...
  • วารสารคลินิก 265 มกราคม 2550
    "There are only two sorts of doctors : those who practice with their brains, and those who practice with their tongues."Sir William Osler (1849-1919)Osler ปรมาจารย์การแพทย์ผู้คร่ำหวอดในเรื่องแพทยศาสตร์ศึกษาได้กล่าวไว้ว่า "แพทย์มีอยู่สองประเภทคือ ...
  • วารสารคลินิก 265 มกราคม 2550
    แผนรับภัยพิบัติของโรงพยาบาล (ต่อ)8. ระบบการประชาสัมพันธ์และการดูแลสื่อสารมวลชนในโลกปัจจุบัน ระบบการประชาสัมพันธ์มีส่วน ช่วยอย่างมากในการลดหรือเพิ่มความยุ่งยากให้แก่โรงพยาบาลและบุคลากร โดยเฉพาะในภาวะภัยพิบัติที่ประชาชน (รวมทั้งบุคลากรในโรงพยาบาลเอง) ต่าง ก็ตื่นกลัวและไม่แน่ใจในความปลอดภัยของตนเองด้วย.การเข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้อย่างทันท่วงทีและถูกต้อง ...
  • วารสารคลินิก 265 มกราคม 2550
    นอกจาก พังงา จะมีชื่อเสียงโด่งดังในฐานะ เมืองท่องเที่ยว และเป้าหมายการถล่มของคลื่นยักษ์ พังงายังเป็นเบ้าหลอมเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ. อาชีพเลี้ยงแพะเป็นหนึ่งในหลายอาชีพทางเกษตรกรรมที่ได้รับผลกระทบทางลบจากการพัฒนา จังหวัดท่องเที่ยวอย่างพังงาจึงมีราคาที่ดินสูงขึ้น (ปัจจุบันที่ดินในจังหวัดพังงาราคาไร่ละ 8 แสนบาทเป็นอย่างต่ำ) นั่นคือ ...
  • วารสารคลินิก 263 พฤศจิกายน 2549
    ทุกวันนี้เราทราบกันดีว่าโรคติดต่อต่างๆ เกิดจากเชื้อโรค แต่แนวคิดนี้มาตั้งแต่เมื่อไหร่เป็นเรื่องที่น่าสนใจมาก และผมจะเล่าให้ฟังสมัยก่อนผู้คนเชื่อว่าโรคต่างๆ ที่เกิดกับคนและสัตว์นั้นเกิดจากภูตผีปีศาจหรือลมฟ้าอากาศแล้วแต่ใครจะเชื่อ แต่ความคิดนี้เริ่มเปลี่ยนไปด้วยฝีมือของ Robert Koch (1843-1910) แพทย์ชาวเยอรมันผู้ที่ไม่มีห้องปฏิบัติการเป็นของตัวเอง ...
  • วารสารคลินิก 263 พฤศจิกายน 2549
    ความต้องการวิธีวินิจฉัยโรคแต่เนิ่นๆ มีอยู่ตลอดเวลา PET-CT สแกนเป็นทางเลือกใหม่ในประเทศ  ไทย มีลักษณะแตกต่างจากการตรวจถ่ายภาพอื่นๆ อาทิ CT สแกนและ MRI ดังจะได้ขยายความดังต่อไปนี้ PET (Positron Emission Computed Tomography) สแกน คืออะไรPET สแกนเป็นการตรวจถ่ายภาพโดยใช้สารเภสัชที่ติดสลากกับไอโซโทปที่ให้อนุภาคโพสิตรอนปริมาณเล็กน้อยเข้าไปในร่างกาย ...
  • วารสารคลินิก 262 ตุลาคม 2549
    www.ncptsd.orgขณะนี้หลายภาคของประเทศต้องประสบกับภัยพิบัติจากอุทกภัยในหลายพื้นที่ ซึ่งนอกจากเกิดความเสียหายต่อทรัพย์สินแล้ว ยังทำให้เกิดปัญหาความเครียดจากความสูญเสียดังกล่าว. วารสารฉบับนี้จึงขอเสนอ ...