โรคและอาการ (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)

  • วารสารคลินิก 283 กรกฎาคม 2551
    Disclaimer : รายงานการศึกษาวิจัยทางการแพทย์มีมากมายมหาศาล ในขณะนี้เป็นสิ่งที่ต้องติดตามเป็นอย่างยิ่ง คอลัมน์นี้ได้สรุปรายงานการศึกษาที่น่าสนใจที่ลงในวารสารทางการแพทย์ที่ผ่าน peer review มาให้สมาชิกทราบ แต่ข้อพึงระวังคือ ไม่ใช่ว่าทุกอย่างที่มีการรายงานการศึกษาจะมีความถูกต้องเป็น สัจจะ เพราะไม่มีอะไรถูกต้องร้อยเปอร์เซ็นต์ ในทางการแพทย์ ความรู้ ความเชื่อ ณ วันนี้อาจได้การยอมรับ แต่ความรู้ใหม่ๆ ...
  • วารสารคลินิก 283 กรกฎาคม 2551
    น้ำวุ้นตาเสื่อมQ อายุ 51 ปี ไปตรวจที่คลินิกหมอบอกว่า น้ำวุ้นตาเสื่อม เป็นตะกอนลอยไปลอยมาอยู่ที่ตาจะแก้ไขอย่างไรดี และวิธีดูแลรักษาต้องทำอย่างไรบ้าง.สุทธิไกร เชี่ยวชาญA ภาวะน้ำวุ้นลูกตาเสื่อม เป็นภาวะที่เกิดขึ้นได้กับทุกคน โดยอาจพบบ่อยขึ้นในผู้สูงอายุ หรือผู้ที่มีสายตาสั้นมากๆ. อาการที่พบบ่อยคือ ผู้ป่วยอาจมองเห็นเป็นจุดดำ เส้นหยากไย่ หรือแมลงลอยไปมาที่ตาข้างใดข้างหนึ่งหรือทั้ง 2 ข้าง ...
  • วารสารคลินิก 283 กรกฎาคม 2551
    ถาม วัณโรคในไตในผู้ใหญ่ มีโอกาสติดมาถึงเด็กอายุ 4-7 ปี ได้หรือไม่ และจะมีวิธีแก้ไขอย่างไร.สมาชิกเก่าตอบ เชื้อวัณโรคสามารถเข้าสู่ร่างกายได้ 3 ทาง ที่สำคัญที่สุดคือ ทางระบบทางเดินหายใจ โดยเชื้อ แพร่กระจายในลักษณะฝอยละอองไม่เกิน 5 ไมครอน เชื้อจะมาจากผู้ป่วยวัณโรคปอดหรือวัณโรคในระบบทางเดินหายใจที่ยังไม่ได้รับการรักษา. วิธีที่ 2 คือ การสัมผัสโดยตรง พบน้อย ...
  • วารสารคลินิก 283 กรกฎาคม 2551
    10 ปีก่อน การทดลองควบคุมเบาหวานอย่างเข้มงวดตามรายงานของ UKPDS (1998)1 บอกว่า เป็นประโยชน์แน่ชัดในการป้องกันภาวะแทรกซ้อนต่อหลอดเลือด ขนาดจิ๋วอันทำให้ตาบอดและไตวาย (microvascular complications : nephropathy, retinopathy) แต่ไม่แน่ชัดว่าช่วยป้องกันภาวะแทรกซ้อนต่อหลอดเลือดขนาดใหญ่อันทำให้หัวใจ/สมองขาดเลือด (macrovascular complications : cardiovascular events).มาวันนี้ ...
  • วารสารคลินิก 282 มิถุนายน 2551
    พยาธิกำเนิด, ลักษณะทางคลินิกและการวินิจฉัยแยกโรคฝ้า มีลักษณะเป็นรอยผิวหนังสีน้ำตาล หรือสีดำ บริเวณที่ผิวหนังถูกแสงแดด เช่น ที่ใบหน้า จัดเป็นโรคผิวหนังอย่างหนึ่งที่อยู่ในกลุ่มความผิดปกติของเซลล์สร้างเม็ดสี คำว่า "melasma" (ฝ้า) นั้น มาจากภาษากรีก คือ "melas" แปลว่า "ดำ" พบฝ้าได้บ่อยในสตรีตั้งครรภ์ เรียกชื่ออีกอย่างว่า "chloasma" (เรียกเป็นภาษาชาวบ้านว่า ...
  • วารสารคลินิก 282 มิถุนายน 2551
    การกลืนสิ่งแปลกปลอมลงสู่ทางเดินอาหารสามารถพบได้ทั้งเด็กและผู้ใหญ่ เด็กมักกลืนโดยไม่ตั้งใจ มักพบในกลุ่มอายุ 1-5 ปี.1,2 ผู้ใหญ่สามารถพบได้โดยที่ตั้งใจและไม่ตั้งใจ โดยกลุ่มที่มีความเสี่ยง ได้แก่ ผู้สูงวัย, ผู้มีความรู้สึกตัวผิดปกติ (เช่น dementia, เสพติดสารมึนเมา เป็นต้น), ผู้ที่ใส่ฟันปลอม3 (ความรู้สึกบริเวณเพดานปากลดลง ทำให้อาจจะกลืนสิ่งแปลกปลอมได้โดยไม่รู้สึก), ผู้ป่วยทางจิต และนักโทษ1,3,4 ...
  • วารสารคลินิก 282 มิถุนายน 2551
    ต้อกระจก คือ ภาวะเลนส์แก้วตามีความขุ่นเกิดขึ้น ส่วนมากแล้วเกิดจากความเสื่อมตามธรรมชาติ เมื่ออายุมากขึ้นความใสของเลนส์แก้วตาจะลดลงทำให้การมองเห็นลดลงเรื่อยๆ โดยไม่มีอาการผิดปกติอย่างอื่น. การรักษาต้อกระจกในปัจจุบันยังไม่มียารักษาให้หายได้ การรักษาจึงต้องใช้การผ่าตัดเอาเลนส์แก้วตาที่ขุ่นออกไป โดยการผ่าตัดอาจใช้วิธีแบบเปิดแผลกว้างแบบดั้งเดิมหรือการผ่าตัดโดยใช้เครื่องสลายต้อกระจกอัลตราซาวนด์ ...
  • วารสารคลินิก 282 มิถุนายน 2551
    ตั้งแต่มีการค้นพบฮอร์โมนอินซูลินในปี พ.ศ. 2464 โดยนายแพทย์ Frederick Banting และนักศึกษาแพทย์ Charles Best และให้อินซูลินแก่ผู้เป็นเบาหวานประเภทที่ 1 เป็นผลให้สามารถรักษาชีวิตผู้เป็นเบาหวานให้ยืนยาวขึ้น. แต่ปัญหาใหญ่ที่เกิดตามมาจากการมีอายุยืนคือ ภาวะแทรกซ้อนหลายชนิด ซึ่งเป็นผลกระทบอย่างต่อเนื่องถึงสังคมและเศรษฐกิจทั่วไป.ในช่วงหลายทศวรรษที่ผ่านมา ...
  • วารสารคลินิก 282 มิถุนายน 2551
    หญิงไทย อายุ 45 ปี มาห้องฉุกเฉินด้วยอาการปวดจุกเสียด แน่นบริเวณลิ้นปี่ 3 ชั่วโมง ผู้ป่วยไม่มีไข้ ไม่มีอาการคลื่นไส้อาเจียน. ผู้ป่วยมีโรคประจำตัวเดิมคือ myasthenia gravis ซึ่งกินยา mestinon 1 เม็ดเช้าและเย็นเพื่อควบคุมอาการอยู่ แพทย์เวรวินิจฉัยว่าเป็น acute gastritis ให้การรักษาด้วยการฉีดยา losec 40 มก. เข้าหลอดเลือด. หลังฉีดยาสังเกตอาการ 30 นาที อาการไม่ดีขึ้น ผู้ป่วยยังบ่นปวดท้องเหมือนเดิม ...
  • วารสารคลินิก 282 มิถุนายน 2551
    บทบรรณาธิการ "เป็นมะเร็ง...ตายลูกเดียว : ควรพูดไหม ?" โดยรองศาสตราจารย์ นายแพทย์สุรเกียรติ อาชานานุภาพ และบทความเรื่อง "ต้นแบบการดูแลโรคเรื้อรัง : นวัตกรรมเพื่อความแข็งแกร่งของระบบสุขภาพปฐมภูมิ" โดยอาจารย์ แพทย์หญิงปัทมา โกมุทบุตร กับบทความเรื่อง "การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย" โดยผู้ช่วยศาสตราจารย์ สุภัสร์ สุบงกช ในคลินิกเดือนเมษายน 2551 ...