โรคและอาการ (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)
-
การแพทย์ทางเลือก ในเวชปฏิบัติโรคผิวหนัง : ตอนที่ 1 (Alternative Medicine in Dermatological Practice)
การแพทย์ทางเลือก (alternative medicine) หมายถึง การรักษาที่นอกเหนือไปจากการรักษาหลักที่เป็นที่ยอมรับกันทั่วไป (conventional medicine) การแพทย์ทางเลือกอาจเริ่มมาจากความเชื่อ, ปรัชญา, การสังเกต และบางครั้งยังไม่ได้ผ่านการทดลองพิสูจน์ตามหลักการทางวิทยาศาสตร์. อย่างไรก็ตาม การรักษาทางการแพทย์ทางเลือกและสมุนไพรใดๆ ที่นำมาใช้ เมื่อมีการพิสูจน์ว่าได้ผลจริงและปลอดภัยตามหลักวิทยาศาสตร์ ... -
วารสารคลินิก
286
ตุลาคม 2551
โรคทางระบบประสาทบางโรค และภาวะแทรกซ้อนทางระบบประสาทจากโรคอื่นนั้นพบได้บ่อยในผู้ป่วยวิกฤต ซึ่งทำให้ผู้ป่วยต้องอยู่โรงพยาบาลนานขึ้น มีภาวะแทรกซ้อนอื่นตามมา และอาจเสียชีวิตในที่สุด. โรคทางระบบประสาทส่วนปลายก็เป็นโรคที่พบได้บ่อยเช่นกัน ซึ่งก่อให้เกิดอาการต่างๆ ในผู้ป่วยเหล่านี้ ในที่นี้จะแบ่งเป็น 2 หลัก คือ 1) ภาวะแทรกซ้อนทางระบบประสาทส่วนปลายที่เกิดขึ้นจากโรคอื่นๆ และ 2) ...
-
วารสารคลินิก
286
ตุลาคม 2551
โรคจมูกอักเสบชนิดไม่แพ้ คือ โรคที่ทำให้ผู้ป่วยมีอาการคัดจมูก น้ำมูกไหล ที่ไม่ได้มีสาเหตุมาจากการติดเชื้อหรือโรคภูมิแพ้ ซึ่งอาจมีสาเหตุที่ชัดเจนที่สามารถรักษาได้ ไปจนถึงไม่มีสาเหตุ ที่ชัดเจนและยากต่อการรักษา. โรคจมูกอักเสบชนิดไม่แพ้อาจทำให้ผู้ป่วยมีอาการคล้ายกับโรค จมูกอักเสบจากภูมิแพ้ได้ แต่เมื่อทำการตรวจพิเศษโดยการทำ allergic work up และ infectious work up ...
-
วารสารคลินิก
286
ตุลาคม 2551
อาชีวเวชศาสตร์ปริทัศน์ฉบับที่แล้วได้เล่าถึงเรื่องราวของ "แรงงานข้ามถิ่น" ซึ่งผู้เขียนได้เสนอแนะว่าหมายถึง ผู้ประกอบอาชีพที่ตั้งใจเดินทางไปทำงานนอกจังหวัดบ้านเกิดของ ตนเอง โดยเฉพาะข้ามภาค เช่น จากภาคตะวันออกเฉียงเหนือไปยังภาคตะวันออกหรือภาคใต้ เพื่อหวังจะได้รับค่าตอบแทนจำนวนมาก แต่ไม่ได้มีการตั้งถิ่นฐานที่นั่น และยังมีการเดินทางกลับไปเยี่ยมบ้านเกิดเป็นระยะๆ. สำหรับบทความฉบับนี้ ...
-
วารสารคลินิก
286
ตุลาคม 2551
ชายไทยคู่ อายุ 51 ปีได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ระยะสุดท้าย (Stage IV). ผู้ป่วยเคยได้รับการผ่าตัดลำไส้ใหญ่ (colectomy) ร่วมกับ jejunostomy. ต่อมาผู้ป่วยได้เข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาลด้วยอาการปวดแบบตื้อๆบริเวณหน้าท้อง ตลอดเวลา ความรุนแรงระดับ 10 (visual analog scale). ผู้ป่วยได้รับยา morphine 15 มก. IV ทุก 4 ชั่วโมง (90 มก./วัน) ร่วมกับ pethidine 25 มก. IV สำหรับ breakthrough ...
-
วารสารคลินิก
286
ตุลาคม 2551
ภาพที่ 1. ...
-
วารสารคลินิก
286
ตุลาคม 2551
Disclaimer : รายงานการศึกษาวิจัยทางการแพทย์มีมากมายมหาศาล ในขณะนี้เป็นสิ่งที่ต้องติดตามเป็นอย่างยิ่ง คอลัมน์นี้ได้สรุปรายงานการศึกษาที่น่าสนใจที่ลงในวารสารทางการแพทย์ที่ผ่าน peer review มาให้สมาชิกทราบ แต่ข้อพึงระวังคือ ไม่ใช่ว่าทุกอย่างที่มีการรายงานการศึกษาจะมีความถูกต้องเป็น สัจจะ เพราะไม่มีอะไรถูกต้องร้อยเปอร์เซ็นต์ ในทางการแพทย์ ความรู้ ความเชื่อ ณ วันนี้อาจได้การยอมรับ แต่ความรู้ใหม่ๆ ...
-
วารสารคลินิก
286
ตุลาคม 2551
"ภาพหนึ่งภาพอาจมีความหมายมากกว่าอักษรนับร้อยนับพันคำ การเรียนรู้จากภาพจริงเกี่ยวกับผู้ป่วย คือที่มาของ "ปริศนาคลินิก" ซึ่งบรรจุเนื้อหาอันเป็นปริศนาที่เลือกสรรอย่างบรรจงจากวิทยากรเพื่อกระตุ้นการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน"จิโรจ สินธวานนท์ พ.บ.ผู้อำนวยการสถาบันโรคผิวหนัง, กรมการแพทย์ ...
-
วารสารคลินิก
286
ตุลาคม 2551
Q จะทราบได้อย่างไรว่าเป็นโรคจอประสาทตาเสื่อมA ผู้ป่วยที่เป็นโรคนี้อาจแสดงอาการแตกต่างกันในผู้ป่วยแต่ละคน โดยส่วนใหญ่จะมีอาการตามัวโดยเฉพาะอย่างยิ่งตรงกลางภาพ มีความลำบากในการอ่านหนังสือหรือทำงานละเอียดและต้องใช้แสงมากๆ อาจเห็นภาพบิดเบี้ยว (distortion) ในโรคจอประสาทตาเสื่อมชนิดเปียก. ความผิดปกติในการมองเห็นตั้งแต่ระยะเริ่มแรกของโรค อาจยากต่อการสังเกตโดยเฉพาะถ้าตาอีกข้างหนึ่งยังมองเห็นได้ดี. ...
-
วารสารคลินิก
286
ตุลาคม 2551
อยากทราบแนวทางประเมินผู้ป่วยตาบอดQ อยากเรียนว่าแนวทางการประเมินเพื่อให้คำแนะนำผู้ป่วยตาบอด ว่าจะมีโอกาสรักษาให้กลับมามองเห็นได้หรือไม่อย่างไร และสามารถให้การช่วยเหลือผู้ป่วยได้อย่างไร.นพ.วุฒิ ตรีพรชัยศักดิ์A โดยทั่วไป ถ้าตาข้างที่บอดนั้นไม่สามารถมองเห็นได้แม้แต่แสงสว่างแล้ว มักไม่สามารถรักษาให้กลับมามองเห็นได้ แต่ต้องเป็นการตรวจที่ถูกวิธี กล่าวคือใช้บริเวณฝ่ามือปิดที่ตาอีกข้าง ...