โรคและอาการ (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)

  • วารสารคลินิก 266 กุมภาพันธ์ 2550
    Disclaimer : รายงานการศึกษาวิจัยทางการแพทย์มีมากมายมหาศาล ในขณะนี้เป็นสิ่งที่ต้องติดตามเป็นอย่างยิ่ง คอลัมน์นี้ได้สรุปรายงานการศึกษาที่น่าสนใจที่ลงในวารสารทางการแพทย์ที่ผ่าน peer review มาให้สมาชิกทราบ แต่ข้อพึงระวังคือ ไม่ใช่ว่าทุกอย่างที่มีการรายงานการศึกษาจะมีความถูกต้องเป็นสัจจะ เพราะไม่มีอะไรถูกต้องร้อยเปอร์เซ็นต์ ในทางการแพทย์ ความรู้ ความเชื่อ ณ วันนี้อาจได้การยอมรับ แต่ความรู้ใหม่ๆ ...
  • วารสารคลินิก 266 กุมภาพันธ์ 2550
    การรักษาความดันเลือดสูง ถาม ผู้ป่วยชายอายุ 42 ปี พบว่ามีประวัติเป็นความดันเลือดสูงมา 2 ปี ได้กินยา HCTZ 1/2 x 1 pc และ atenolol (50 มก.) 1/2 x 1 pc มาตลอด. ความดันเลือดควบคุมได้ดี (<140/90 มม.ปรอท) มาตรวจสุขภาพประจำปีพบผลเลือดมีความผิดปกติดังนี้ (อื่นๆ ปกติ)  1. Uric â 9.1 มก./ดล. 2. SGOT 58 U/L, SGPT 82 U/L. ผู้ป่วยไม่ดื่มสุรา ไม่ได้กินยาอย่างอื่นประจำ ไม่มีอาการปวดข้อ ...
  • วารสารคลินิก 266 กุมภาพันธ์ 2550
    www.chikungunya.ca  สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค เปิดเผยว่า สุขภาพของคนไทยในปี พ.ศ. 2550 โรคติดต่อที่ต้องจับตาเป็นพิเศษยังเป็นหลายโรคที่พบระบาดในปี พ.ศ. 2549 และมีแนวโน้มจะพบการระบาดรุนแรงขึ้นในปี พ.ศ. 2550 ประกอบด้วย โรคไข้หวัดใหญ่พันธุ์ใหม่ หรือไข้หวัดนก โรคมือเท้าปาก โรคเชื้อคลอสตริเดียม โบทูลินัม ...
  • วารสารคลินิก 266 กุมภาพันธ์ 2550
    นอกจากเสี่ยงต่อการเสียชีวิต การติดเชื้อ methicillin-resistant staphylo- coccus (MRSA) ยังเป็นภาระทางการเงินสูงหลายหมื่นดอลลาร์สหรัฐในผู้ป่วยแต่ละราย. แต่ละปีในประเทศสหรัฐอเมริกา การติดเชื้อ MRSA คร่าชีวิตคนอเมริกัน 13,000 คน โดยที่ร้อยละ 64 ของการติดเชื้อในโรงพยาบาลเป็นชนิด MRSA ข้ามไปฝั่งยุโรปตัวเลขชนิดนี้ในโรงพยาบาลของประเทศเนเธอร์แลนด์ต่ำกว่าร้อยละ 1.ทำไมจึงมีความแตกต่างกันมากถึงเพียงนั้น ...
  • วารสารคลินิก 265 มกราคม 2550
    การโป่งพองของผนังหลอดเลือดแดงเอออร์ตาอย่างถาวร ซึ่งโตกว่าขนาดปกติเกินร้อยละ 501 เกิดในช่องท้อง (abdominal aortic aneurysm) มักจะปรากฏอยู่ต่ำกว่าหลอด เลือดแดงไต (renal artery) มีเพียงร้อยละ 2 ...
  • วารสารคลินิก 265 มกราคม 2550
    หลังจากที่มีการรักษาด้วยยาต้านไวรัส (highly active antiretroviral therapy, HAART) กันอย่างกว้างขวาง ทำให้อัตราการเสียชีวิตของผู้ติดเชื้อเอชไอวีลดลงอย่างมาก ผู้ป่วยมีชีวิตยืนยาวขึ้น ส่งผลให้พบผลข้างเคียงของการรักษาในระยะยาวบ่อยขึ้น โดยเฉพาะความผิดปกติทางเมตาบอลิก เช่น โคเลสเตอรอลและไตรกลีเซอร์ไรด์ที่สูงขึ้น ซึ่งสัมพันธ์กับโรคหัวใจและหลอดเลือดเช่นเดียวกับประชากรทั่วไป. ...
  • วารสารคลินิก 265 มกราคม 2550
    โรคโลหิตจางพันธุกรรมธาลัสซีเมียเป็นโรคพันธุกรรมระบบเลือดที่พบบ่อยในประเทศไทย เกิดจากความผิดปกติในการสังเคราะห์โปรตีนโกลบินซึ่งเป็นโครงสร้างของเม็ดเลือดแดง ทำให้เม็ดเลือดแดงเปราะแตกง่าย. โดยปกติแล้ว เม็ดเลือดแดงทำหน้าที่นำออกซิเจนที่ได้รับจากการหายใจไปเลี้ยงอวัยวะส่วนต่างๆ ของร่างกาย เช่น หัวใจ สมอง ไต กล้ามเนื้อ ทำให้ร่างกายอยู่ในสมดุล ดำเนินชีวิตไปได้อย่างปกติ เมื่อเม็ดเลือดแดงแตก ...
  • วารสารคลินิก 265 มกราคม 2550
    อาการปากแห้งแต่มีสารคัดหลั่งมากขึ้นในระบบทางเดินอาหารและทางเดินหายใจ เป็นกลุ่มอาการตรงกันข้ามที่เกิดร่วมกันได้บ่อยในผู้ป่วยระยะสุดท้าย ซึ่งทำให้ญาติเป็นกังวลได้มาก เพราะผู้ป่วยส่งเสียงดังต่อเนื่อง แม้จะไม่รู้สึกตัวแล้วหรือไม่รู้สึกทุกข์ทรมานก็ตาม ทั้งอาการปากแห้งยังทำให้ญาติเข้าใจผิดว่า ผู้ป่วยกระหายน้ำมาก จึงเป็นภาพที่ให้ความรู้สึกว่า ผู้ป่วยไม่สุขสบาย การช่วยดูแลรักษาภาวะนี้ ...
  • วารสารคลินิก 265 มกราคม 2550
    "ถ้าคุณอยากเข้าใจสิ่งต่างๆ ในวันนี้ คุณต้องค้นหาอดีตของมัน"Pearl Buck กล่าวไว้ว่า "ถ้าคุณอยากเข้าใจสิ่งต่างๆ ในวันนี้ คุณต้องค้นหาอดีตของมัน" ประวัติศาสตร์มีเพียงหนึ่งเดียว แต่บันทึกทางประวัติศาสตร์นั้นมีเยอะ บางอย่างก็ไม่ตรงกัน ความพยายามรวบรวมจากหลายแหล่ง เพื่อหาข้อสรุปช่วยให้เราเข้าใกล้ "หนึ่งเดียว" นั้นมากขึ้นไข้หวัดใหญ่ (Influenza) เป็นโรคที่พบมานานแล้ว ...
  • วารสารคลินิก 265 มกราคม 2550
    การรักษารากฟันQ อยากทราบว่าเมื่อไรที่ฟันผุแล้วต้องรักษารากฟัน และต้องรักษาอย่างไร นานขนาดไหนศุภชัย กิจศิริไพบูลย์   A ฟันผุทั่วไปที่เป็นไม่มาก จะผุอยู่ในชั้นของเคลือบฟัน ...